Assistant Professor Dr.Chaowalid Saicharoent

Head of Department of Architecture

Email : Chaowalid.s@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University
239 Huay Kaew Rd, Suthep,Muang, Chiang Mai, Thailand 50200

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2011, Doctor of Philosophy, Architecture, Oxford Brookes University

  • 1998, เคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต, เคหพัฒนศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • 1996, บริหารธุรกิจบัณฑิต, การจัดการก่อสร้าง, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

  • 1992, สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง), สถาปัตยกรรม, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ผลงานทางวิชาการ / Publications

    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

  • 2021, สถาปัตยกรรมล้านนา, ใน นิธิ สถาปิตานนท์, Architecture of Lanna สถาปัตยกรรมล้านนา (หน้า 54-121). กรุงเทพฯ : ลายเส้น.
  • 2019, บ้านเรือน ตัวตน คนไทในอินเดีย., ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี, เชาวลิต สัยเจริญ และคณะ (2562). พิมพ์ครั้งที่ 1, 1000 หน้า. เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2014, การตั้งถื่นฐานและที่อยู่อาศัยชาวล้านนา, โครงการล้านนาคดีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 1. เชียงใหม่: สุเทพการพิมพ์ เชียงใหม่
  • 2013, Lanna traditional houses museum (พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนา), หนังสือเผยแพร่ความรู้ สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2012, รูมาห์...อินโดนีเซีย : รูปแบบ ’บ้านพื้นถิ่น’ ในอินโดนีเซีย, เชียงใหม่ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2011, โครงการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อหนุนเสริมการเรียนรู้รายวิชาประวัติศาสตร์ ในระดับประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ สถานศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่, หนังสือความรู้ด้านสถาปัตยกรรมล้านนาในเมืองเชียงใหม่ และเป็นวิทยากรอบรมความรู้ด้านสถาปัตยกรรมล้านนาในเมืองเชียงใหม่.

    บทความวิชาการ / research / academic conferences

  • 2017, The Dynamics of Tai Vernacular Architecture in Northeast India, 13th International Conference on Thai Studies, หอประชุมนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ (pp 315-323).
  • 2017, Proportion Analysis of Tai-Yuan Style Sims (Viharns) in Luangprabang City., โครงการประชุมวิชาการระดับชาติและสัมมนาระดับบัณฑิตศึกษา “สรรค์สาระสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม” วันที่ 1 - 2 มิถุนายน ประจำปี 2560 (ครั้งที่ 3) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
  • 2012, การศึกษาเปรียบเทียบแบบแผนบ้านเรือนไทในอัสสัมและอรุณาจัลประเทศกับบ้านเรือนไทใหญ่ในรัฐฉาน สหภาพพม่า
  • 2009, Imitated tradition: crisis or survival of Lanna architecture (ประเพณีลอกเลียน:วิกฤติหรือความอยู่รอดของสถาปัตยกรรมล้านนา), CDAST International Conference 2009, 23-24 May 2009 at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Wang Noi, Ayutthaya.
  • 2008, A Local Intelligence in Vernacular Houses in Chiang Mai and Luang Prabang, The 3rd International Symposium on Architecture and Culture Suvarnabhumi 2008 (ISACS) ภายใต้ชื่อ “Local Wisdom, Universal Future (ISACS 2008)” ในวันที่ 20 – 22 ตุลาคม 2551. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น.
  • 2008, An Analysis of Structures and Building Materials in Lanna Viharn
  • 2007, The survival of Lawa vernacular architecture in Mae Chaem, Thailand
  • 2003, เฮือนไตลื้อ
  • 2002, The concept for the revitalization of Wat Ked Community: the hidtorical and commercial area on the Ping River in Chiang Mai
  • 2001, เฮือนแป: จุดเปลี่ยนสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองเชียงใหม่, สาระศาสตร์สถาปัตย์, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2000, อิทธิพลด้านคติความเชื่อเรื่องผีที่มีผลต่อรูปแบบสถาปัตยกรรมล้านนาในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, สาระศาสตร์, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • 1999, พัฒนาการการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ในล้านนาและอัตลักษณ์เมืองเชียงใหม่, the conference Training Guidelines for Conservation and Regeneration of Historic Cities, Bangkok: Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, 8-10 Jan 1999.

    วารสารวิชาการ / research / academic papers

  • 2019, A Study of Style and Characteristics Guideline for Luangprabang Sim, International of Social Science and Humanities Research ISSN 2348-3156 (Print), ISSN 2348-3164 (online), 7(1), 181-190.
  • 2019, พลวัตเรือนพื้นถิ่นของชาวกะเหรี่ยงปกาเกอะญอในพื้นที่ต้นน้ำแม่แจ่ม อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่, มริษฎดา สมใจมาก และ เชาวลิต สัยเจริญ (2562). วารสารวิชาการสภาพแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (BEI), 18(2), 1 - 20.
  • 2018, การเปลี่ยนแปลงเรือนพื้นถิ่นลาหู่เพื่อการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ในอำเภอเมืองและอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย, เนติวัฒน์ แก้วเทพ และ เชาวลิต สัยเจริญ (2561). วารสารสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์วินิจฉัย (Built Environment Inquiry - BEI), 17(1), 23-42.
  • 2016, ความเชื่อกับการจัดระเบียบที่ว่างของเรือนกะเหรี่ยงในหมู่บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน, กิตติกุล ศิริเมืองมูล และ เชาวลิต สัยเจริญ (2559). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 3(1), 112-143.

    ผลงานวิจัย / research works

  • 2019, การปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์วัฒนธรรมในเขตกำแพงเมืองเก่าเชียงใหม่, ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 2019, สัดส่วนของวิหารเชียงใหม่ในยุคทองล้านนา, ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 2018, การปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์วัฒนธรรมในเขตกำแพงเมืองเก่าเชียงใหม่, ทุนสนับสนุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 2016, เอกลักษณ์เรือนไทยวนในจังหวัดเชียงรายและพะเยา, สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 2014, แบบแผนบ้านเรือนไทในแคว้นอัสสัมและอรุณาจัลประเทศ พลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทในพื้นที่พหุวัฒนธรรม, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2010, การออกแบบสถาปัตยกรรมล้านนาร่วมสมัยในเขตโบราณสถาน: กรณีศึกษาเพื่อออกแบบอาคารเอนกประสงค์ในศูนย์ปฏิบัติ, ทุนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 2010, โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการองค์ความรู้เรือนพื้นถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น, ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 2009, An Analysis of Structures and Building Materials of Lanna Viharn, (การวิเคราะห์โครงสร้างและวัสดุวิหารล้านนา), ทุนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 2006, การศึกษาเปรียบเทียบสภาพชุมชนที่อยู่อาศัย และสถาปัตยกรรม ในหมู่บ้านพื้นถิ่นของเชียงใหม่ และหลวงพระบาง, ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2000, A Study of the Old Shop houses in Chiang Mai (Haen Pae) (เรือนร้านค้าโบราณในเชียงใหม่), ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานฉบับสมบูรณ์
  • 2000, อิทธิพลด้านคติความเชื่อเรื่องผีที่มีผลต่อรูปแบบสถาปัตยกรรมล้านนาในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 1999, การศึกษาเพื่อการวางผัง ออกแบบ และก่อสร้างโครงการชุมชนการเรียนรู้สมเด็จย่า, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์