อาจารย์ยุพเรศ สิทธิพงษ์

Email : yuppared.s@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2017, ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, ภูมิสถาปัตยกรรม, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • 2015, สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง, สถาปัตยกรรม, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานทางวิชาการ / Publications

    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

  • 2020, เอกสารประกอบการสอนวิชา 802112 ปฏิบัติการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 2, พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 159 หน้า. (ตำรา-ทั้งเล่ม)

    บทความวิชาการ / research / academic conferences

  • 2021, Impact of Land Cover Change in Urban Area on Hydrological Characteristic A Case Study of Kata Watershed, Phuket, Thailand, Eleventh International Conference on The Constructed Environment, 11-14 May 2021, Calgary, Canada, United States.
  • 2019, การลดผลกระทบของน้ำท่าผิวดินจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งปกคลุมผิวดินด้วยการบูรณาการองค์ความรู้ทางโครงสร้างพื้นฐานภูมินิเวศวัฒนธรรมล้านนา และทางภูมิสถาปัตยกรรม กรณีศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ หัวข้อ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” ครั้งที่ 3, วันที่ 6 มิถุนายน 2562 (pp 88-103). เชียงใหม่ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

    วารสารวิชาการ / research / academic papers

  • 2019, ภูมินิเวศวิทยาในวัฒนธรรมล้านนากับแนวทางการบูรณาการทางภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อลดผลกระทบทางอุทกวิทยาน้ำ ผิวดินจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งปกคลุมผิวดิน กรณีศึกษาแอ่งเชียงใหม่–ลำพูน, วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย (Built Environment Inquiry Journal – BEI), 18(1), 19-35.
  • 2019, สเกลนั้นสำคัญไฉน: สเกลกับธรรมเนียมปฏิบัติของการวิจัย, วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 6(1), 2 - 23.

    ผลงานวิจัย / research works

  • 2021, โครงการแนวทางบริหารจัดการน้ำบ้านโป่งแยงในอย่างยั่งยืนและมีส่วนร่วม., ทุนอุดหนุนโครงการวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ปีงบประมาณ 2563). รายงานฉบับสมบูรณ์.
  • 2018, ภูมิทัศน์วัฒนธรรมล้านนากับแนวทางการบูรณาการทางภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อลดผลกระทบทางอุทกวิทยาน้ำผิวดินจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งปกคลุมผิวดิน กรณีศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ทุนสนับสนุน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.