ศาสตราจารย์ ดร.ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี

คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

Email : rawiwan.o@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2008, Doctor of Philosophy, Architectural Science, Oxford Brookes University

  • 1994, Master of Real Estate and Construction Management, Real Estate and Construction Management, University Of Denver

  • 1992, สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต, สถาปัตยกรรมศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง

ผลงานทางวิชาการ / Publications

    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

  • 2019, บ้านเรือน ตัวตน คนไทในอินเดีย., ครั้งที่ 1, 1000 หน้า. เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2018, Persisting Tradition in Southeast Asian Traditional Houses, Vernacular Architecture Reflections Challenges and Future, Marwa Dabaieh and Valeria Prieto, 1, Solvegatan 14, house I. Lund: Media-Tryck.
  • 2016, บ้านเรือน ตัวตน คนไทในอินเดีย, พิมพ์ครั้งที่ 1, จำนวน 360 หน้า. เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ISBN : 9786163980632.
  • 2015, ความเชื่อมโยงทางสังคมวัฒนธรรมผ่านสถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัยของชาติพันธุ์ไท กรณีศึกษาเรือนไทใหญ่ในรัฐฉาน สหภาพเมียนมาร์, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2557.
  • 2014, รูปแบบบ้านเรือนของกลุ่มชาติพันธุ์ในอุษาคเนย์, เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2014, แนวคิดเรื่องพื้นที่สาธารณะในมุมมองตะวันตกและตะวันออก, เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • , บ้านเรือนไทยองในรัฐฉาน

    บทความวิชาการ / research / academic conferences

  • 2022, ความสัมพันธฺระหว่างกลุ่มปัจจัยเพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรมวิถีพุทธบนพื้นฐานวัฒนธรรมท้องถิ่น กรณีศึกษาโรงเรียนปะก๊ะจอง เชียงตุง รัฐฉาน สหภาพเมียนมาร์
  • 2019, The Dynamics of Dai Cultural Landscape and Vernacular Architecture in Asia, การประชุม ICOMOS – CIAV & ISCEAH 2019: International Conference on Vernacular & Earthern Architecture towards Local Development, ณ เมือง Pingyao ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน, 23-29.
  • 2018, Environmental Degradation and Housing Adaptation: Some Lessons from Thailand., ICOMOS CIAV October 2018, Tabriz Iran, 1-10.
  • 2017, The Dynamics of Tai Vernacular Architecture in Northeast India, Thai Studies: 13th International Conference on Thai Studies, หอประชุมนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่, 1181-1192.
  • 2017, ลักษณะเฉพาะของที่ว่างในเรือนพื้นถิ่นไทยวน ในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, ประชุมวิชาการระดับชาติและการสัมมนาบัณฑิตศึกษา เรื่อง “สรรค์สาระสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม ประจำปี 2560” (ครั้งที่ 3), ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2560. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
  • 2017, เรือนไทลื้อในพันนาเมืองอู สปป.ลาว., ประชุมวิชาการระดับชาติและการสัมมนาบัณฑิตศึกษา เรื่อง “สรรค์สาระสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม ประจำปี 2560” (ครั้งที่ 3), ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2560. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
  • 2013, Addressing Southeast Asian Vernacular Architecture Studies in The Changing Environment, International Conference on Vernacular Heritage & Earthen Architecture, 16-20 Oct. 2013, Vila Nova de Cerveira, Portugal.
  • 2013, การสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงกายภาพชุมชนกำแพงงามและหัวฝาย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, ICOMOS Thailand National Conference 2013. October 15-16, 2013.
  • 2013, รอยต่อเมืองรอยต่อระหว่างการอนุรักษ์และการพัฒนา
  • 2013, แนวทางการพัฒนาพื้นที่สาธารณะเชิงกายภาพเขตอนุรักษ์เมืองเก่าเชียงแสน, ICOMOS Thailand National Conference 2013. October 15-16, 2013.
  • 2013, แนวทางการพัฒนาองค์ประกอบเชิงพื้นที่กายภาพและสังคมเพื่อส่งเสริมสภาพแวดล้อมกายภาพของตลาดดอกไม้ต้นลำไย เชียงใหม่, ICOMOS Thailand National Conference 2013. October 15-16, 2013.
  • 2012, The Use of Public Space for Walking Street Market in Thai Urban Cities
  • 2012, การศึกษาเปรียบเทียบแบบแผนบ้านเรือนไทในอัสสัมและอรุณาจัลประเทศกับบ้านเรือนไทใหญ่ในรัฐฉาน สหภาพพม่า
  • 2012, พัฒนาการของรูปแบบวิหารพะเยาในจังหวัดพะเยา, การประชุมวิชาการลุ่มน้ำโขงศึกษา ครั้งที่ 2 วันที่ 16-18 พฤศจิกายน 2555 ณ แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.
  • 2009, Promoting Vernacular Identity of Tungfabod Cattle Market Chiang Mai, การประชุมวิชาการนานาชาติ ISACS2009, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.
  • 2008, Spatio-social Relationship: Bridging Anthropology, Architecture and Tourism in Homestay Study, The 3rd International Symposium on Architecture and Culture Suvarnabhumi 2008 (ISACS) ภายใต้ชื่อ “Local Wisdom, Universal Future (ISACS 2008)” ในวันที่ 20 – 22 ตุลาคม 2551 , Proceeding, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

    วารสารวิชาการ / research / academic papers

  • 2022, Amazing Fungi for Eco-Friendly Composite Materials: A Comprehensive Review, Aiduang, W, Chanthaluck, A, Kumla, J, Jatuwong, K, Srinuanpan, S, Waroonkun, T, Oranratmanee, R, Lumyong, S, & Suwannarach, N. (2022). Journal of Fungi, 8(8), 1-28. https://doi.org/10.3390/jof8080842
  • 2022, การศึกษาภูมิทัศน์พื้นถิ่นล้านนาในบริบทชุมชนของ นักวิชาการไทยในประเทศไทย ช่วง พ.ศ. 2545 - 2564, อัมพิกา อำลอย, ศุภกุล เรืองวิทยานุสรณ์, วรงค์ วงศ์ลังกา, แผ่นดิน อุนจะนํา, อรัญญา ศิริผล และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี. (2565). วารสารวิชาการภูมิสถาปัตยกรรม, 4(1), 62-81.
  • 2021, Earthen–wooden hybrid houses built by the Dai in Dehong Prefecture, South China., Oranratmanee, R. & Ounchanum, P. (2021). Built Heritage 5, 16, https://doi.org/10.1186/s43238-021-00035-9. (ScopusQ2)
  • 2021, The dynamic of Dai cultural landscape in Dehong in the sociopolitical context of China, Kasetsart Journal of Social Sciences, 42(2), 377 - 382.
  • 2021, พลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: กรณีศึกษา เรือนไทลื้อบ้านห้วยเม็ง จังหวัดเชียงราย, วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 8(2), 149-171.
  • 2021, รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของวิหารในเมืองยอง รัฐฉาน สหภาพเมียนมาร์, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 18(1), 104-133
  • 2020, Cultural geography of vernacular architecture in a cross-cultural context: houses of the Dai ethnic minority in South China, Journal of Cultural Geography, 37(1), 67-87. SCOPUS Q1.
  • 2020, ลักษณะเฉพาะของเรือนพื้นถิ่นไทในเมืองยอง รัฐฉาน สหภาพเมียนมาร์, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 17(2), 270-291.
  • 2018, Vernacular Architecture of the Shan in Myanmar in the Southeast Asian Context., Vernacular Architecture, 49, 99-120. SCOPUS Q3.
  • 2018, ลักษณะเฉพาะของที่ว่างในเรือนพื้นถิ่นไทยวน ในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม, 33, 39-59.
  • 2018, หลักการออกแบบพื้นถิ่นบางประการ กรณีศึกษาเรือนพื้นถิ่นไทใหญ่, วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, 2, 10-23.
  • 2017, พลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ กรณีศึกษากลุ่มไทใหญ่ในอำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอนและกลุ่มกะเหรี่ยงในพื้นที่พักพิงชั่วคราวแม่หละ จังหวัดตาก, วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Built Environment Inquiry Journal Faculty of Architecture Khon Kaen University, TCI, 16(1), 1-16.
  • 2017, รูปแบบของเรือนไทลื้อในพันนา เมืองอู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว., วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (JED), 4(2), 22-49.
  • 2016, การถอดบทเรียนภูมิปัญญาการปรับตัวของเรือนพื้นถิ่นไทใหญ่ บ้านแม่สามแลบ จังหวัดแม่ฮ่องสอน, สาวิตรี ศรีสวัสดิ์ และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี (2559). การถอดบทเรียนภูมิปัญญาการปรับตัวของเรือนพื้นถิ่นไทใหญ่ บ้านแม่สามแลบ จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม ออกแบบ และสภาพแวดล้อม วารสารวิชาการประจําคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 30, 31-53. (TCI2)
  • 2016, จากนอกสู่ใน: ลักษณะเรือนและที่ว่างในเรือนไทลื้อ เมืองล่า สิบสองปันนา., จีรพันธ์ จันทร์แดง และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี (2559). จากนอกสู่ใน: ลักษณะเรือนและที่ว่างในเรือนไทลื้อ เมืองล่า สิบสองปันนา. วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 3(2), 100-121.
  • 2016, พลวัตของภูมิปัญญาในเรือนพื้นถิ่นไทลื้อ ระหว่างถิ่นกำเนิดในเมืองลวง สิบสองพันนากับบ้านลวงเหนือ-บ้านลวงใต้ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่, อินทนนท์ สุกกรี, ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี (2559). พลวัตของภูมิปัญญาในเรือนพื้นถิ่นไทลื้อ ระหว่างถิ่นกำเนิดในเมืองลวง สิบสองพันนากับบ้านลวงเหนือ-บ้านลวงใต้ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม ออกแบบ และสภาพแวดล้อม วารสารวิชาการประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 30, 3-30. (TCI2)
  • 2016, พลวัตของย่านเก่าในเมืองอนุรักษ์ของไทย, วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง (Journal of Mekong Society), 11(2), 97-111.
  • 2016, พลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไท กรณีศึกษาเรือนไทลื้อ และเรือนไทใหญ่, ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี, อินทนนท์ สุกกรี และสาวิตรี ศรีสวัสดิ์. (2559). พลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไท กรณีศึกษาเรือนไทลื้อ และเรือนไทใหญ่. วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 3(2), 123–147.
  • 2015, พลวัตทางสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของเรือนไทใหญ่ในอำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน จากการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม, วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 20(17), 18-26.
  • 2015, รูปแบบและการก่อรูปของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นกะเหรี่ยงปกาเกอญอในพื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก, วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่., 2(1), 10-41.
  • 2014, Streets as Public Spaces in Southeast Asia: Case Studies of Thai Pedestrian Streets, Journal of Urban Design, 19(2), 211–229.
  • 2014, การดำรงอยู่ของย่านตลาดในพลวัตความเปลี่ยนแปลงของเมืองเชียงใหม่, วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10(2), 197-214.
  • 2014, การพัฒนาพิพิธภัณฑ์มีชีวิตในย่านหน้าทอน เกาะสมุย, วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 13, 15-29.
  • 2014, มองชาติพันธุ์ผ่านบ้านเรือนพื้นถิ่นไท, ร่มพยอม, 15(2), กรกฎาคม-ธันวาคม 2556, 1, 2
  • 2013, ระบบเครือญาติกับการจัดระเบียบทางสังคมในเรือนยาวของอุษคเนย์, หน้าจั่ว สถาปัตยกรรม การออกแบบและสภาพแวดล้อม, 27, 89-110.
  • 2012, การปรับใช้พื้นที่เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวในเรือนแรมทางภาคเหนือของไทย, วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง, 8(1), 35-54.
  • 2012, การใช้พื้นที่สาธารณะเป็นถนนคนเดินแบบตลาดนัดในเมืองของไทย, วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 8(3), 121-142.
  • 2012, ความเชื่อเรื่องผีกับการก่อรูปของเรือนพื้นถิ่นอุษาคเนย์, หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย, 8, 334-347.
  • 2011, Re-Utilizing Space: Accommodating Tourists in Homestay Houses in Northern Thailand, Journal of Architectural/Planning Research and Studies, 8(1), 35-54.
  • 2010, สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น การศึกษา วิจัย และการปฏิบัติวิชาชีพ, วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 8, 56-66.

    ผลงานวิจัย / research works

  • 2019, วิจัยโครงการพลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทในเขตปกครอง ตนเองเต๋งหง สาธารณรัฐประชาชนจีน, ทุนสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.),รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2017, วิจัยโครงการการส่งเสริมอัตลักษณ์เชิง พื้นที่ของกาดหลวงเชียงตุง ภายใต้พลวัตการเปลี่ยนแปลงเขตเศรษฐกิจวัฒนธรรมกลุ่ม ชาติพันธุ์ไท, ทุนสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2017, วิจัยโครงการโครงการหมู่บ้านรักษ์ สิ่งแวดล้อม, ทุนวิจัยสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2014, แบบแผนบ้านเรือนไทในแคว้นอัสสัมและอรุณาจัลประเทศ พลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทในพื้นที่พหุวัฒนธรรม, เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2004, การเปรียบเทียบสภาวะน่าสบายในเรือนพื้นถิ่นของเชียงใหม่และหลวงพระบาง, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2546.
  • 2004, ถนนคนเดินในเขตเมืองเชียงใหม่, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2546.