รองศาสตราจารย์ ดร.ธานัท วรุณกูล

Email : tanut.w@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2007, Doctor of Philosophy, Architectural and Engineering Management, Griffith University

  • 1996, Master of Philosophy, Civil Engineering, Griffith University

  • 1993, วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต, วิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัย รังสิต

ผลงานทางวิชาการ / Publications

    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

  • 2020, สิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาในการออกแบบโรงพยาบาล, 1,เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, https://cmu.bookcaze.com/index.php?route=product/product&product_id=25460
  • 2019, การดำเนินงานและการใช้ทฤษฎี EBD และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาในโรงพยาบาล, ครั้งที่ 1, จำนวน 100 หน้า. เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

    บทความวิชาการ / research / academic conferences

  • 2022, Analysis of the relation between processability and accessibility to prevent respiratory infectious disease in Thai hospitals (Pilot-review study), The 17th APRU Multi-Hazards Symposium 2022. Bangkok : Association of Pacific Rim Universities.
  • 2022, Identifying Built Environment Solutions, in Thai Community Hospital Outpatient Clinics, to Prevent the Spread of COVID-19
  • 2017, The Recycling of Plastic Bottle As Composition of Concrete Block to Increase the Efficiency of Building Insulation, International Research Conference, The University of Salford, Manchester, United Kingdom, IRWAS2017_paper_168.
  • 2017, แนวทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อการเยียวยา หอผู้ป่วยอาคารสุจิณโณโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่, The 8th Built Environment Research Associates’ Conference 2017 : BERAC 8. ปทุมธานี : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.
  • 2016, Evaluation of Attributes for Healing Spaces of Medical Ward, CIB World Building Congress 2016 Intelligent Built Environment, Finland.
  • 2016, การพัฒนาอิฐบล็อกซีเมนต์ผสมเศษจากขวดน้ำพลาสติกประเภท PET ให้มีคุณสมบัติที่เหมาะสำหรับการใช้งานเป็นผนังชนิดไม่รับน้ำหนัก, The 7th Built Environment Research Associates’ Conference 2016 : BERAC 7. ปทุมธานี : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.
  • 2016, สมบัติเชิงกลของคอนกรีตมวลเบาผสมต้นข้าวโพด, The 7th Built Environment Research Associates’ Conference 2016 : BERAC 7. ปทุมธานี : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.
  • 2015, แนวทางการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่, The 6th Built Environment Research Associates’ Conference 2015 : BERAC 6. ปทุมธานี : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.
  • 2008, ภูมิปัญญาการก่อสร้างงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นประเภทอาคารเพื่อการค้าของหลวงพระบาง, เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
  • 2008, เปรียบเทียบการใช้วัสดุและเทคนิคการก่อสร้างงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นประเภทอาคารเพื่อการค้าของเชียงใหม่และหลวงพระบาง, The 3rd International Symposium on Architecture and Culture Suvarnabhumi 2008 (ISACS), Local Wisdom, Universal Future (ISACS 2008), 20 – 22 Oct. 2008. Khon Kaen: Khon Kaen University.

    วารสารวิชาการ / research / academic papers

  • 2023, การประเมินความสัมพันธ์ระหว่างการปรับเปลี่ยนการใช้งานพื้นที่และพฤติกรรมการใช้งานอาคารพักอาศัยพื้นถิ่นล้านนา ผ่านการวิเคราะห์รูปแบบโครงข่ายการเชื่อมต่อและจัดวางหน่วยพื้นที่, เกรียงไกร สมยศ และ ธานัท วรุณกูล. (2566). การประเมินความสัมพันธ์ระหว่างการปรับเปลี่ยนการใช้งานพื้นที่และพฤติกรรมการใช้งานอาคารพักอาศัยพื้นถิ่นล้านนา ผ่านการวิเคราะห์รูปแบบโครงข่ายการเชื่อมต่อและจัดวางหน่วยพื้นที่. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 33(1), 269-279.
  • 2022, Amazing Fungi for Eco-Friendly Composite Materials: A Comprehensive Review, Journal of Fungi, web of science (ISI), 8(8), 842.
  • 2022, Identifying built environment solutions, in Thai community hospital outpatient clinics, to prevent the spread of COVID-19, IOP Conference Series: Earth and Environmental Science, 1101, 1 - 17. doi: 10.3389/fbuil.2022.947211
  • 2022, Preventing the spread of COVID-19 through environmental design in Thai community hospitals, Waroonkun, T. & Prugsiganont, S. (2022). Preventing the spread of COVID-19 through environmental design in Thai community hospitals. Frontiers in Built Environment, 8:947211. doi: 10.3389/fbuil.2022.947211 (Scopus)
  • 2022, การวิเคราะห์ปัญหาทางกายภาพ เพื่อหาแนวทางการออกแบบอย่างมีส่วนร่วม กรณีศึกษาอาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่, วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9(1), 154-173.
  • 2021, Factors Influencing Optimal Hospital Design: A Comparative Study Between Thai and Norwegian Public Hospitals, Prugsiganont, S. & Waroonkun, T. (2021). Factors Influencing Optimal Hospital Design: A Comparative Study Between Thai and Norwegian Public Hospitals. Civil Engineering and Architecture, 9(4), 976–991. (Scopus)
  • 2021, การใช้สื่อออนไลน์ในการเลือกโรงแรมในเขตเมืองเก่าเชียงใหม่ของนักท่องเที่ยวต่างชาติ, Payap University Journal, 31 (2), 50-63. (TCI 2).
  • 2020, A Structural Format to Facilitate User Input for the Co-design of a Cardiac Health Unit, Civil Engineering and Architecture, 8 (5), 760-770. (Scopus Index).
  • 2020, Patient Attitudes to Features of a Medical Examination Room in a Thai Hospital, The International Journal of Design Management and Professional Practice, 14 (3), 29-45. (Scopus Index).
  • 2020, แนวทางการออกแบบปรับปรุงห้องตรวจโรคหัวใจผู้ป่วยนอก กรณีศึกษา โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่, วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง (JARS), 17(1), 189-207.
  • 2019, An investigation of nursing staff input for the co-design of an outpatient department, Urbanism. Architecture. Constructions, 10 (2), 113-122. (Scopus Index).
  • 2019, Guideline design of Out-Patient-Department buildings adopting healing environment theory
  • 2019, ปัญหาการใช้งานในเส้นทางการเข้ารับบริการของผู้ป่วยอายุรกรรมทั่วไป โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่, อันนาลิน สังข์ศิริ, ธานัท วรุณกูล, วนรักษ์ วัชระศักดิ์ศิลป์ (2562). วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 18(3), 51-68.
  • 2019, แนวทางการปรับปรุงห้องตรวจผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม่ ตามแนวคิดสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา, ธานัท วรุณกูล, ฐิตยา สารฤทธิ์ (2562). วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 18(2), 35-50.
  • 2018, Ambitions of Change at The Faculty of Medicine, Chiang Mai University, Thailand., European Facility Management Network, eFMi Issue 44.
  • 2018, Comparison of Outpatient Satisfaction Measures Across Hospitals Built to a Thai Standard Design, Asian Social Science, 14(12), 255-265, (SJR 0.14).
  • 2018, The Environmental Factors affecting Service Satisfaction of Community Hospital, Journal of Design and Built Environment, 18(1), 19-28. (Scopus Index).
  • 2017, The Development of a Concrete Block Containing PET Plastic Bottle Flakes, Journal of Sustainable Development, 10(6), (SJR 0.15), ISSN: 1913-9063 และ E-ISSN: 1913-9071 วารสารในฐานข้อมูล SCOPUS Q4, Scopus, 1, 10
  • 2015, การศึกษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยาในหอออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ตามความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ป่วย เพื่อหาแนวทางการปรับปรุง, อภิญญา ผสวัสดิ์, ธนัท วรุณกูล (2558). วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 14(2), 75-94.
  • 2015, แนวทางการปรับปรุงปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลชุมชนเพื่อเพิ่มความพึงพอใจ, ณัฐภูมิ พงษ์เย็น และธานัท วรุณกูล (2558). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 1(2), 49-80.
  • 2012, การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการองค์ความรู้เรื่องกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดเชียงใหม่, ธานัท วรุณกูล, สุภัค พฤกษิกานนท์ (2555). วารสารวิชาการศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหารวิทยาลัยนเรศวร, 2(2), 5-12.
  • 2008, Modeling the international technology transfer process in construction projects: evidence from Thailand

    ผลงานวิจัย / research works

  • 2021, โครงการกลุ่มวิจัย เพื่อวัสดุยั่งยืน และนวัตกรรมอาคาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่., (หัวหน้าโครงการ, ปีงบประมาณ 2564) แหล่งทุน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, โครงการวิจัย สภาพแวดล้อมที่ ช่วยฟื้นฟูจิตใจจากความเหนื่อยล้าสำหรับพื้นที่การอ่าน ในสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, (ที่ปรึกษาโครงการวิจัย, ปีงบประมาณ 2562) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, โครงการวิจัย การใช้สวนแนวตั้งเพื่อการฟื้นฟูจิตใจจากความเหนื่อยล้าในโรงอาหารกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่., (ที่ปรึกษาโครงการวิจัย, ปีงบประมาณ 2562) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, โครงการวิจัย สภาพแวดล้อมที่ช่วยฟื้นฟูจิตใจจากความเหนื่อยล้าสำหรับการพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กออทิสติก, คลินิกจิตเวชเด็ก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่, (ที่ปรึกษาโครงการวิจัย, ปีงบประมาณ 2562) แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, โครงการศูนย์ความเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่., แหล่งทุน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2562. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2018, โครงการศึกษาและวิจัยการออกแบบอาคาร OPD ศูนย์ศรีพัฒน์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่., แหล่งทุน คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.