ประวัติการศึกษา / Educations
-
2011,
Doctor of Philosophy,
Architecture,
Oxford Brookes University
-
1998,
เคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิต,
เคหพัฒนศาสตร์,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
1996,
บริหารธุรกิจบัณฑิต,
การจัดการก่อสร้าง,
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
-
1992,
สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง),
สถาปัตยกรรม,
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ผลงานทางวิชาการ / Publications
ตำรา-ทั้งเล่ม / books
1. เชาวลิต สัยเจริญ.(2564).สถาปัตยกรรมล้านนา.ใน นิธิ สถาปิตานนท์.Architecture of Lanna สถาปัตยกรรมล้านนา(น.54-121).กรุงเทพฯ : ลายเส้น.
2. ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี, เชาวลิต สัยเจริญ และคณะ.(2562).บ้านเรือน ตัวตน คนไทในอินเดีย(1).เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
3. เชาวลิต สัยเจริญ.(2557).การตั้งถื่นฐานและที่อยู่อาศัยชาวล้านนา.โครงการล้านนาคดีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.ล้านนาคดีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557(น.).สุเทพการพิมพ์ เชียงใหม่.
4. เชาวลิต สัยเจริญ.(2556).หนังสือเผยแพร่ความรู้().สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
5. เชาวลิต สัยเจริญ.(2555).รูมาห์...อินโดนีเซีย : รูปแบบ ’บ้านพื้นถิ่น’ ในอินโดนีเซีย().คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่..
บทความวิชาการ / research / academic conferences
1. เชาวลิต สัยเจริญ.(2560,1 - 2 มิถุนายน).Proportion Analysis of Tai-Yuan Style Sims (Viharns) in Luangprabang City..การประชุมวิชาการระดับชาติและสัมมนาระดับบัณฑิตศึกษา “สรรค์สาระสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม” ประจำปี 2560 (ครั้งที่ 3).คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
2. Oranratmanee, R. & Saicharoent, C.(2017,July 15-18).The Dynamics of Tai Vernacular Architecture in Northeast India..Thai Studies: 13th International Conference on Thai Studies.หอประชุมนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่.
3. ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี และ เชาวลิต สัยเจริญ.(2555,16 – 18 พฤศจิกายน).การศึกษาเปรียบเทียบแบบแผนบ้านเรือนไทในอัสสัมและอรุณาจัลประเทศกับบ้านเรือนไทใหญ่ในรัฐฉาน สหภาพพม่า..การประชุมเครือข่ายและการนำเสนอผลงานทางวิชาการด้านลุ่มน้ำโขง ครั้งที่ 2.แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.
4. Saicharoent, C.(2009,May 23-24).Imitated tradition: crisis or survival of Lanna architecture..CDAST International Conference 2009.Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Wang Noi, Ayutthaya.
5. Saicharoent, C.(2008,October 20-22).A Local Intelligence in Vernacular Houses in Chiang Mai and Luang Prabang..The 3rd International Symposium on Architecture and Culture Suvarnabhumi 2008 (ISACS) ภายใต้ชื่อ “Local Wisdom, Universal Future (ISACS 2008)” , Proceeding.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น.
6. เชาวลิต สัยเจริญ.(2551,19–20 ธันวาคม).An Analysis of Structures and Building Materials in Lanna Viharn..งานวันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 4 “วิถีวิจัย : นวัตกรรมเพื่อชีวิต” (โปสเตอร์).หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.
7. Saicharoent, C.(2008,August 16).The survival of Lawa vernacular architecture in Mae Chaem, Thailand..International symposium on architecture & culture in Suvarnabhumi.King Mongkut Institute of Technology, Lad Kra Bang, Bangkok.
8. เชาวลิต สัยเจริญ.(2547,25 มีนาคม).เฮือนไตลื้อ..ฮอมภูมิ 1.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
9. Saicharoent, C.(2002,October 29).The concept for the revitalization of Wat Ked Community: the hidtorical and commercial area on the Ping River in Chiang Mai..The international symposium/workshop on modernity, tradition, culture and water.Kasetsart University, Bangkok.
10. เชาวลิต สัยเจริญ.(2545,14 ตุลาคม).เฮือนแป: จุดเปลี่ยนสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองเชียงใหม่..สาระศาสตร์สถาปัตย์.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
11. เชาวลิต สัยเจริญ.(2543,19 ตุลาคม).อิทธิพลด้านคติความเชื่อเรื่องผีที่มีผลต่อรูปแบบสถาปัตยกรรมล้านนาในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่..สาระศาสตร์.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วารสารวิชาการ / research / academic papers
1. Saicharoent, C.(2019).A Study of Style and Characteristics Guideline for Luangprabang Sim.International Journal of Social Science and Humanities Research,7(1),181-190.ISSN 2348-3156 (Print), ISSN 2348-3164 (online)
2. มริษฎดา สมใจมาก และ เชาวลิต สัยเจริญ.(2562).พลวัตเรือนพื้นถิ่นของชาวกะเหรี่ยงปกาเกอะญอในพื้นที่ต้นน้ำแม่แจ่ม อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่.วารสารวิชาการสภาพแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (BEI),18(2),1-20.doi.org/10.14456/bei.2019.6
3. เนติวัฒน์ แก้วเทพ และ เชาวลิต สัยเจริญ.(2561).การเปลี่ยนแปลงเรือนพื้นถิ่นลาหู่เพื่อการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ในอำเภอเมืองและอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย.วารสารสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์วินิจฉัย (Built Environment Inquiry - BEI),17(1),23-42.
4. กิตติกุล ศิริเมืองมูล และ เชาวลิต สัยเจริญ.(2559).ความเชื่อกับการจัดระเบียบที่ว่างของเรือนกะเหรี่ยงในหมู่บ้านพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน.วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,3(1),112-143.
ผลงานวิจัย / research works
1. เชาวลิต สัยเจริญ.(2562).การปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์วัฒนธรรมในเขตกำแพงเมืองเก่าเชียงใหม่.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
2. เชาวลิต สัยเจริญ.(2562).สัดส่วนของวิหารเชียงใหม่ในยุคทองล้านนา.ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
3. เชาวลิต สัยเจริญ.(2562).การปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์วัฒนธรรมในเขตกำแพงเมืองเก่าเชียงใหม่.ทุนสนับสนุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
4. เชาวลิต สัยเจริญ.(2559).เอกลักษณ์เรือนไทยวนในจังหวัดเชียงรายและพะเยา.สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
5. เชาวลิต สัยเจริญ.(2557).แบบแผนบ้านเรือนไทในแคว้นอัสสัมและอรุณาจัลประเทศ พลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทในพื้นที่พหุวัฒนธรรม.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
6. เชาวลิต สัยเจริญ.(2010).โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการองค์ความรู้เรือนพื้นถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น.ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
7. เชาวลิต สัยเจริญ.(2009).An Analysis of Structures and Building Materials of Lanna Viharn, (การวิเคราะห์โครงสร้างและวัสดุวิหารล้านนา).ทุนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
8. เชาวลิต สัยเจริญ.(2549).การศึกษาเปรียบเทียบสภาพชุมชนที่อยู่อาศัย และสถาปัตยกรรม ในหมู่บ้านพื้นถิ่นของเชียงใหม่ และหลวงพระบาง.ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
9. เชาวลิต สัยเจริญ.(2543).อิทธิพลด้านคติความเชื่อเรื่องผีที่มีผลต่อรูปแบบสถาปัตยกรรมล้านนาในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
10. เชาวลิต สัยเจริญ.(2543).เรือนร้านค้าโบราณในเชียงใหม่ A Study of the Old Shop houses in Chiang Mai (Haen Pae).ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานฉบับสมบูรณ์.
11. เชาวลิต สัยเจริญ.(2542).การศึกษาเพื่อการวางผัง ออกแบบ และก่อสร้างโครงการชุมชนการเรียนรู้สมเด็จย่า.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.