ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา ทองท้วม

Email : yuttana.t@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University
239 Huay Kaew Rd, Suthep,Muang, Chiang Mai, Thailand 50200

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2015, ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, พลังงานทดแทน, มหาวิทยาลัยนเรศวร

  • 2004, สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • 2002, สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต, สถาปัตยกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานทางวิชาการ / Publications

    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

  • 2015, ระบบอาคารและพลังงาน 2, 1, เชียงใหม่: สำนักพิมพ์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์.

    บทความวิชาการ / research / academic conferences

  • 2021, ผลกระทบการออกแบบผนังกระจกและกรอบอลูมิเนียมในอาคารสูง ประเภทอาคารสำนักงานเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและคุ้มค่าในการลงทุน สำหรับสถาปนิก, The12 Built Environment Research Associates Conference 2021 : BERAC 12. ปทุมธานี : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
  • 2020, แนวทางการสร้างกลไกการบริหารงานวิจัยเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้เป็นมหาวิทยาลัยวิจัย, การประชุมวิชาการระดับชาติด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ครั้งที่ 2 Thailand Quality Education Forum 2020 ระหว่างวันที่ 28 - 30 เมษายน 2561 ณ โรงแรมดวงจิตต์รีสอร์ทแอนด์สปา จังหวัดภูเก็ต, 31 – 32.
  • 2019, การลดผลกระทบของน้ำท่าผิวดินจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งปกคลุมผิวดินด้วยการบูรณาการองค์ความรู้ทางโครงสร้างพื้นฐานภูมินิเวศวัฒนธรรมล้านนา และทางภูมิสถาปัตยกรรม กรณีศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ หัวข้อ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” ครั้งที่ 3. วันที่ 6 มิถุนายน 2562 (pp 88-103). เชียงใหม่ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2017, การศึกษาการเพิ่มขึ้นของความชื้นสัมพัทธ์กรณีการใช้ระบบพัดลมไอเย็น, การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย (E–NETT) ครั้งที่ 13, วันที่ 31 พ.ค.- 2 มิ.ย.2560 (pp 562-569). เชียงใหม่ : โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.
  • 2016, การพัฒนาเทคนิคการถนอมเนื้อไม้ไผ่เพื่อการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน, การประชุมวิชาการทางสถาปัตยกรรม “สรรค์สาระสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมประจำปี 2559” Vernacular Architecture and Cultural Built Environments Forum (VernAC-BEF) 2016. ปทุมธานี: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.
  • 2016, สถานีจักรยานเพื่อสุขภาพคนและสุขภาพเมืองเชียงใหม่, การประชุมวิชาการ “การส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน” ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 25 – 26 มีนาคม 2559, หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร, 151-159.
  • 2016, อิทธิพลของวัสดุเปลือกอาคารและสัดส่วนพื้นที่ปรับอากาศต่อการประหยัดพลังงานของบ้านพักอาศัย, การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย (E-NETT) ครั้งที่ 12, 8 – 10 มิถุนายน 2559, โรงแรมวังจันทน์ ริเวอร์วิว จังหวัดพิษณุโลก.
  • 2015, การติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ประกอบแผ่นสะท้อนรังสีอาทิตย์กับหลังคา, การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย (E-NETT) ครั้งที่ 11, โรงแรมบางแสน เออริเทจ จังหวัดชลบุรี, 985–993.
  • 2015, การสูญเสียพลังงานไฟฟ้าจากระบบเซลล์แสงอาทิตย์เนื่องจากรูปทรงของหลังคาบ้านจัดสรร ในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, ประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย (E-NETT) ครั้งที่ 11, โรงแรมบางแสน เออริเทจ จังหวัดชลบุรี, 977–988.
  • 2012, การทดลองออกแบบชุ่งแสงด้านข้างเพื่อการประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม, งาน “การนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2555 ” (Thailand Research Expo 2012), ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ ราชประสงค์. กรุงเทพฯ: ส่วนส่งเสริมและพัฒนาการวิจัย ภารกิจบริหารจัดการผลงานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
  • 2012, การผลิตน้ำค้างโดยระบบหลังคาเทอร์โมอิเล็กทริกสำหรับบ้านขนาดเล็ก, การประชุมสัมมนาวิชาการพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 พลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย, โรงแรมฮอลิเดย์อินน์ รีสอร์ท รีเจนท์ บีช ชะอำ, ในวันที่ 10 – 12 ตุลาคม 2555. เพชรบุรี: สมาคมพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย.
  • 2012, การเพิ่มสมรรถนะช่องแสงด้านข้างด้วยแผงกันแดดที่ผสานระบบเซลล์แสงอาทิตย์, The 3 Built Environment Research Associates’ Conference 2012: BERAC 3, 25 พฤษภาคม 2555 (pp 21-34). ปทุมธานี: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.
  • 2012, ความคุ้มค่าของการออกแบบอาคารประหยัดพลังงานผสานระบบพลังงานทดแทน กรณีศึกษา อาคารสำนักงานโครงการศูนย์เรียนรู้พลังงานทดแทน, The 3 Built Environment Research Associates’ Conference 2012: BERAC 3, 25 พฤษภาคม 2555 (pp 3-11). ปทุมธานี: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.

    วารสารวิชาการ / research / academic papers

  • 2022, การบูรณาการระหว่างเกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่่ำ และการประเมินวัฏจักรชีวิตในการปรับปรุงกรอบอาคาร กรณีศึกษา อาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสารภี, วารสารวิชาการ วารสารวิศวกรรมศาสตร์และนวัตกรรม, 15(1), 75-88. (TCI1)
  • 2019, ภูมินิเวศวิทยาในวัฒนธรรมล้านนากับแนวทางการบูรณาการทางภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อลดผลกระทบทางอุทกวิทยาน้ำ ผิวดินจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งปกคลุมผิวดิน กรณีศึกษาแอ่งเชียงใหม่–ลำพูน, วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย (Built Environment Inquiry Journal – BEI), 18(1), 19-35.
  • 2019, แนวทางการออกแบบข้อต่อแบบถอดประกอบได้ให้เหมาะสมกับโครงสร้างบ้านไม้ไผ่ขนาดเล็กร่วมสมัย, วารสารวิชาการ AJNU ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 10(1), 39-54.
  • 2018, อัตลักษณ์สภาพอากาศจังหวัดเชียงใหม่ที่ส่งผลต่อสภาวะน่าสบายที่ยอมรับได้เพื่อการออกแบบอาคารระบบธรรมชาติ, วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 5(2), 63-81.
  • 2017, The Development of a Concrete Block Containing PET Plastic Bottle Flakes, Journal of Sustainable Development, 10(6), (SJR 0.15), ISSN: 1913-9063 และ E-ISSN: 1913-9071, Scopus Q4, 1, 10
  • 2016, การพัฒนารูปแบบช่องแสงไม้ไผ่สำหรับผู้สูงอายุในที่พักอาศัยที่ใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านโดยเทคนิคการสะท้อนแสง, วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 3(1), 88-111.

    ผลงานสร้างสรรค์ / other academic works

  • 2018, Kampang IT Condo, (โปสเตอร์). รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ในการประกวดแบบอาคาร BEC ที่มีประสิทธิภาพพลังงานระดับดีเด่น ประเภทบุคคลทั่วไปออกแบบอาคารชุด, 27 พฤศจิกายน 2561, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีกรุงเทพฯ.
  • 2017, มช. (เมือง) มหาวิทยาลัยอัจฉริยะพลังงานสะอาด CMU Smart City Clean Energy เมืองต้นแบบอัจฉริยะพลังงานสะอาด: กระทรวงพลังงานและสถาบันอาคาร เขียว., Smart Cities - Clean Energy @ 6th TGBI Expo 2017, 26 – 27 กรกฎาคม 2560, ไบเทคบางนา. กรุงเทพฯ: สถาบันอาคารเขียวไทย.
  • 2015, อาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงานสำหรับภาครัฐ, รางวัลชนะเลิศในการประกวดแนวคิดการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงานสำหรับภาครัฐ, โครงการศึกษาและพัฒนาเพื่อสร้างต้นแบบอาคารอนุรักษ์พลังงานสำหรับภาครัฐ. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.

    ผลงานวิจัย / research works

  • 2021, การพัฒนารูปแบบอิฐฉนวนเพื่อลดการถ่ายเทความร้อนและต้นทุนการก่อสร้างด้วยเทคนิคการต่อ., รายงานการวิจัยภายใต้งานวิจัยโครงการการพัฒนางานวิจัยพื้นฐานขั้นแนวหน้าทางวัสดุศาสตร์สู่นวัตกรรมฐานความรู้ ประจำปี 2564 ศูนย์วิจัยวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2021, การศึกษาความเป็นไปได้เพื่อสร้างความเป็นไปได้เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากวัสดุธรรมชาติด้วยเครื่องอัดแบบแผ่น., รายงานการวิจัยภายใต้งานวิจัยโครงการสนับสนุนการเคลื่อนย้ายบุคลากรวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาไปปฏิบัติงาน เพื่อแก้ไขปัญหาและเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตให้กับภาคอุตสาหกรรม (Talent Mobility). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2021, ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 2., รายงานการวิจัยภายใต้งานวิจัยโครงการจัดทำฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2021, อาคารสาธิตการจัดการด้านพลังงานในการใช้พลังงานใกล้เคียงเท่ากับศูนย์ กรณีศึกษา อาคารศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ กฟผ. (ระยะที่ 2)., รายงานการวิจัยภายใต้โครงการความร่วมมือ กฟผ.- มช., เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2020, ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการภายในมหาวิทยาลัย และ คู่มือแนวทางการออกแบบเพื่อก่อสร้างโรงเก็บของเสียสารเคมี จากห้องปฏิบัติการ ตามมาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ., รายงานการวิจัยภายใต้งานวิจัยโครงการจัดทำคู่มือแนวทางการออกแบบสถานที่รวบรวมและจัดเก็บของเสียสารเคมีตามมาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : กรณีศึกษาอาคารเก็บของเสียและสารอันตรายคณะอุตสาหกรรมเกษตร. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2020, ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการภายในมหาวิทยาลัย และ คู่มือการใช้ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ ตามแนวทาง ESPReL Checklist (องค์ประกอบที่ 4) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่., รายงานการวิจัยภายใต้งานวิจัยโครงการจัดทำฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2020, โครงการพัฒนาหลักสูตรเรียนรู้ด้วยตนเองในการออกแบบอาคารผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย์., สนับสนุนทุนจากสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, อาคารสาธิตการจัดการด้านพลังงานในการใช้พลังงานใกล้เคียงเท่ากับศูนย์กรณีศึกษา อาคารศูนย์ฝึกอบรมแม่เมาะ กฟผ., รายงานการวิจัยภายใต้โครงการความร่วมมือ กฟผ.- มช. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2018, การศึกษาการออกแบบอาคารราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการใช้พลังงานและโอกาสใช้พลังงานทดแทนในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่, งบประมาณแผ่นดินประจำปี พ.ศ.2561 งบเงินอุดหนุน กิจกรรมผลงานการให้บริการวิชาการ/บริการวิชาการเชิงวิเคราะห์และวิจัย ภายใต้โครงการ การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงาน. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2018, ภูมิทัศน์วัฒนธรรมล้านนากับแนวทางการบูรณาการทางภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อลดผลกระทบทางอุทกวิทยาน้ำผิวดินจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งปกคลุมผิวดิน กรณีศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2018, แนวทางการออกแบบประสานระบบเปลือกอาคารสู่การเป็นอาคารสำนักงานที่มีการใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์, สนับสนุนทุนจากสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2018, โครงการแนวทางการออกแบบประสานระบบ เปลือกอาคารสู่การเป็นอาคารสำนักงานที่มีการใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์., สนับสนุนทุนจากสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2017, การศึกษาสภาวะน่าสบายเนื่องจากระบบพัดลมไอเย็นสำหรับห้องเรียน, ทุนจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2560 งบเงินอุดหนุนกิจกรรมผลงานการให้บริการวิชาการ/บริการวิชาการเชิงวิเคราะห์และวิจัย โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงาน (ต่อเนื่อง)–60123144893C800. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2017, โครงการแนวทางการกำหนดพื้นที่ไม่ปรับอากาศ จากระดับสภาวะน่าสบายเพื่อให้เกิดการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าสำหรับอาคารสาธารณะใน ประเทศไทย, สนับสนุนทุนจากสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2017, โครงการแนวทางการออกแบบอาคารประเภทชุมชนพักอาศัยที่มีพลังงานสุทธิเป็นศูนย์., สนับสนุนทุนจากสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์.