Assistant Professor Dr.Chiranthanin Kitika

Assistant Professor

Email : chiranthanin.kitika@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University
239 Huay Kaew Rd, Suthep,Muang, Chiang Mai, Thailand 50200

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2016, Doctor of Philosophy, Architecture, Kyoto Institute of Technology

  • 2014, Master of Engineering, Architecture and Design, Kyoto Institute of Technology

  • 2013, สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สถาปัตยกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  • 2009, สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต, สถาปัตยกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานทางวิชาการ / Publications

    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

  • 2021, ปฏิบัติการเชิงพื้นที่และภาพตัวแทนบนพื้นที่เมืองของกลุ่มดิจิทัลโนแมดบนพื้นที่ศึกษาเมืองเชียงใหม่, ใน สันต์ สุวัจฉราภินันท์, สำรวจพื้นที่ทางสังคม อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์. ISBN 9786164860476
  • 2019, การศึกษาการออกแบบผสมผสานบนพื้นที่สาธารณะ กรณีศึกษา ถนนพระปกเกล้า เขตเมืองเก่า จังหวัดเชียงใหม่, มรดกเมือง มรดกขุมขน หนังสือรวมบทความวิชาการสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อม (ใน ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ) (หน้า 39-51). เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ISBN 9786163984258

    บทความวิชาการ / research / academic conferences

  • 2022, Digital nomad’s spatial practice & representation in an urban area on case study of Chiang Mai city, 14th International Conference on Thai Studies (14th ICTS) Center for Southeast Asian Studies Kyoto University, รูปแบบ online Zoom
  • 2020, Integrated cultural townscape for creative tourism: a case study of Changmoi district,Chiang Mai Thailand
  • 2018, Street Culture towards Mixed-use Architecture: Publicity Architectural Design and Street Culture in Chiang Mai City, Thailand, The 8th International Conference on the Constructed Environment and the Constructed Environment Research Network, 24th-25th May 2018, Wayne State University, Detroit MI, U.S.A.
  • 2017, Neighborhood Network on Urban Community: A case in Nimmanhaemin – Santitham Area, Chiang Mai Thailand, The 5th International Conference on Social Science and Management, Kyoto, Japan, May 10, 2017, 14 -25.
  • 2017, โครงข่ายชุมชนบนพื้นที่เมืองสมัยใหม่จากกรณีศึกษา ชุมชนโคยยามะ จังหวัดเกียวโต และชุมชนบนถนนนิมมานเหมินทร์ จังหวัดเชียงใหม่, การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์, วันที่ 30 มีนาคม 2560, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่.

    วารสารวิชาการ / research / academic papers

  • 2023, Modernization of Chiang Mai’s Infrastructural Space: A Case Study of its Electricity and Telecommunications Systems, Suwatcharapinun, S., & Kitaka, C. (2023). Journal of Mekong Societies, 19(3), 54–77.
  • 2023, การบูรณาการกิจกรรมทางวัฒนธรรมบนภูมิทัศน์เมืองเชิงประวัติศาสตร์ชุมชน กรณีศึกษาชุมชนช้างม่อยวัดชมพู เชียงใหม่, จิรันธนิน กิติกา และคณะ. (2566). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 10(1), 2-25.
  • 2023, ประชาสังคม: ทรัพยากรการเรียนรู้ชุมชนเพื่อการสร้างกลไก เมืองแห่งการเรียนรู้, อจิรภาส์ ประดิษฐ์, จิรันธนิน กิติกา และคณะ. (2566). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 10(1), 26-47.
  • 2022, กระบวนการปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ท้องถิ่นของเยาวชนเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างมีส่วนร่วม, อัมพิกา ชุมมัธยา, จิรันธนิน กิติกา และคณะ. (2565). วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 35(2), 90-108.
  • 2022, พื้นที่สาธารณูปโภคเมืองเชียงใหม่: ประวัติศาสตร์การพัฒนาของระบบไฟฟ้าและระบบสื่อสาร ตั้งแต่ พ.ศ. 2500-ปัจจุบัน, สันต์ สุวัจฉราภินันท์, จิรันธนิน กิติกา (2565). หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย. ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (2022): มกราคม-มิถุนายน 2565. หน้า 234-259.
  • 2022, สำรวจการก่อรูปทางความคิดและกลไกการขับเคลื่อนเชียงใหม่เมืองแห่งการเรียนรู้ด้วยชุมชน, สันต์ สุวัจฉราภินันท์, จิรันธนิน กิติกา และคณะ (2565). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9(2), 92-113.
  • 2020, New Feature of Mixed-use Design on Public Area: Case Studies from Chang Phuak Road to Moon Muang Soi 7, Chiang Mai Thailand, Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS), 17(1), 137 - 156.
  • 2020, การวางผังแนวคิดเรื่องภูมิทัศน์วัฒนธรรม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชน กรณีศึกษาพื้นที่ชุมชนช้างม่อย จังหวัดเชียงใหม่, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม, 17, 152 - 184.
  • 2019, การศึกษาและออกแบบการใช้ประโยชน์พื้นที่บาทวิถีแบบผสมผสาน: กรณีศึกษาเมืองเก่าเชียงใหม่, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม, 34(2), 1 - 18.
  • 2017, โครงข่ายชุมชนบนการวางผังเมืองสมัยใหม่ จากการศึกษาเชิงเปรียบระหว่างชุมชนโคยยามะ จังหวัดเกียวโต และชุมชนบนถนนนิมมานเหมินทร์ จังหวัดเชียงใหม่, วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 25(19), 24-36.

    ผลงานวิจัย / research works

  • 2022, การเรียนรู้วัฒนธรรมพื้นถิ่นผ่านผู้คนและชุมชนทางสังคม, ภายใต้ชุดโครงการวิจัย โครงข่ายท้องถิ่นกับการเรียนรู้เมืองเชียงใหม่. สนับสนุนโดยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) (ปีงบประมาณ 2563).
  • 2020, การสำรวจพื้นที่ทางสังคม : อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน., สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (ปีงบประมาณ2562). กลุ่มงานมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ ใน โครงการวิจัยชุด สำรวจพื้นที่ทางสังคม : อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน ในโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2020, การออกแบบพื้นถิ่นร่วมสมัยบนอาคารสาธารณะ: พื้นที่ 18 ชุมชนบนผังเมืองอนุรักษ์ จังหวัดเชียงใหม่, ทุนวิจัยโดยสำนักงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ 3 เชิงรุก: ล้านนาสร้างสรรค์ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) สำนักงานหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, การศึกษาและออกแบบการใช้ประโยชน์พื้นที่บาทวิถีแบบ ผสมผสาน กรณีศึกษาเขตเมืองเก่า จังหวัดเชียงใหม่., ทุนสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สกสว. (ปีงบประมาณ 2561). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, การออกแบบภูมิทัศน์วัฒนธรรมด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนกรณีศึกษาพื้นที่ชุมชนช้างม่อย จังหวัดเชียงใหม่., ทุนวิจัยโครงการโครงการคนไทยสร้างชาติ การศึกษารายกรณีพลเมืองไทยกับความเข้มแข็งของชุมชน (ด้านการมีส่วนร่วมเพื่อดำรงรักษาประโยชน์ส่วนรวมของชุมชน) สำนักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, แนวทางการพัฒนาย่านน่าอยู่อย่างยั่งยืนในเขตเทศบาลเมืองลำพูน, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ชุดโครงการเมืองยั่งยืน (ปีงบประมาณ2561). งานวิจัยฉบับสมบูรณ์.