ARCH CMU
ประวัติการศึกษา / Educations
2016,
Doctor of Philosophy,
Architecture,
Kyoto Institute of Technology
2014,
Master of Engineering,
Architecture and Design,
Kyoto Institute of Technology
2013,
สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต,
สถาปัตยกรรมศาสตร์,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2009,
สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต,
สถาปัตยกรรมศาสตร์,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผลงานทางวิชาการ / Publications
ตำรา-ทั้งเล่ม / books
2021,
ปฏิบัติการเชิงพื้นที่และภาพตัวแทนบนพื้นที่เมืองของกลุ่มดิจิทัลโนแมดบนพื้นที่ศึกษาเมืองเชียงใหม่, ใน สันต์ สุวัจฉราภินันท์, สำรวจพื้นที่ทางสังคม อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์. ISBN 9786164860476
2019,
การศึกษาการออกแบบผสมผสานบนพื้นที่สาธารณะ กรณีศึกษา ถนนพระปกเกล้า เขตเมืองเก่า จังหวัดเชียงใหม่, มรดกเมือง มรดกขุมขน หนังสือรวมบทความวิชาการสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อม (ใน ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ) (หน้า 39-51). เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ISBN 9786163984258
บทความวิชาการ / research / academic conferences
2022,
Digital nomad’s spatial practice & representation in an urban area on case study of Chiang Mai city, 14th International Conference on Thai Studies (14th ICTS) Center for Southeast Asian Studies Kyoto University, รูปแบบ online Zoom
2020,
Integrated cultural townscape for creative tourism: a case study of Changmoi district,Chiang Mai Thailand
2018,
Street Culture towards Mixed-use Architecture: Publicity Architectural Design and Street Culture in Chiang Mai City, Thailand, The 8th International Conference on the Constructed Environment and the Constructed Environment Research Network, 24th-25th May 2018, Wayne State University, Detroit MI, U.S.A.
2017,
Neighborhood Network on Urban Community: A case in Nimmanhaemin – Santitham Area, Chiang Mai Thailand, The 5th International Conference on Social Science and Management, Kyoto, Japan, May 10, 2017, 14 -25.
2017,
โครงข่ายชุมชนบนพื้นที่เมืองสมัยใหม่จากกรณีศึกษา ชุมชนโคยยามะ จังหวัดเกียวโต และชุมชนบนถนนนิมมานเหมินทร์ จังหวัดเชียงใหม่, การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์, วันที่ 30 มีนาคม 2560, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่.
วารสารวิชาการ / research / academic papers
2023,
Modernization of Chiang Mai’s Infrastructural Space: A Case Study of its Electricity and Telecommunications Systems, Suwatcharapinun, S., & Kitaka, C. (2023). Journal of Mekong Societies, 19(3), 54–77.
2023,
การบูรณาการกิจกรรมทางวัฒนธรรมบนภูมิทัศน์เมืองเชิงประวัติศาสตร์ชุมชน กรณีศึกษาชุมชนช้างม่อยวัดชมพู เชียงใหม่, จิรันธนิน กิติกา และคณะ. (2566). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 10(1), 2-25.
2023,
ประชาสังคม: ทรัพยากรการเรียนรู้ชุมชนเพื่อการสร้างกลไก เมืองแห่งการเรียนรู้, อจิรภาส์ ประดิษฐ์, จิรันธนิน กิติกา และคณะ. (2566). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 10(1), 26-47.
2022,
กระบวนการปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ท้องถิ่นของเยาวชนเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างมีส่วนร่วม, อัมพิกา ชุมมัธยา, จิรันธนิน กิติกา และคณะ. (2565). วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 35(2), 90-108.
2022,
พื้นที่สาธารณูปโภคเมืองเชียงใหม่: ประวัติศาสตร์การพัฒนาของระบบไฟฟ้าและระบบสื่อสาร ตั้งแต่ พ.ศ. 2500-ปัจจุบัน, สันต์ สุวัจฉราภินันท์, จิรันธนิน กิติกา (2565). หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย. ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (2022): มกราคม-มิถุนายน 2565. หน้า 234-259.
2022,
สำรวจการก่อรูปทางความคิดและกลไกการขับเคลื่อนเชียงใหม่เมืองแห่งการเรียนรู้ด้วยชุมชน, สันต์ สุวัจฉราภินันท์, จิรันธนิน กิติกา และคณะ (2565). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9(2), 92-113.
2020,
New Feature of Mixed-use Design on Public Area: Case Studies from Chang Phuak Road to Moon Muang Soi 7, Chiang Mai Thailand, Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS), 17(1), 137 - 156.
2020,
การวางผังแนวคิดเรื่องภูมิทัศน์วัฒนธรรม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชน กรณีศึกษาพื้นที่ชุมชนช้างม่อย จังหวัดเชียงใหม่, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม, 17, 152 - 184.
2019,
การศึกษาและออกแบบการใช้ประโยชน์พื้นที่บาทวิถีแบบผสมผสาน: กรณีศึกษาเมืองเก่าเชียงใหม่, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม, 34(2), 1 - 18.
2017,
โครงข่ายชุมชนบนการวางผังเมืองสมัยใหม่ จากการศึกษาเชิงเปรียบระหว่างชุมชนโคยยามะ จังหวัดเกียวโต และชุมชนบนถนนนิมมานเหมินทร์ จังหวัดเชียงใหม่, วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 25(19), 24-36.
ผลงานวิจัย / research works
2022,
การเรียนรู้วัฒนธรรมพื้นถิ่นผ่านผู้คนและชุมชนทางสังคม, ภายใต้ชุดโครงการวิจัย โครงข่ายท้องถิ่นกับการเรียนรู้เมืองเชียงใหม่. สนับสนุนโดยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) (ปีงบประมาณ 2563).
2020,
การสำรวจพื้นที่ทางสังคม : อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน., สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (ปีงบประมาณ2562). กลุ่มงานมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ ใน โครงการวิจัยชุด สำรวจพื้นที่ทางสังคม : อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน ในโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2020,
การออกแบบพื้นถิ่นร่วมสมัยบนอาคารสาธารณะ: พื้นที่ 18 ชุมชนบนผังเมืองอนุรักษ์ จังหวัดเชียงใหม่, ทุนวิจัยโดยสำนักงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ 3 เชิงรุก: ล้านนาสร้างสรรค์ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) สำนักงานหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2019,
การศึกษาและออกแบบการใช้ประโยชน์พื้นที่บาทวิถีแบบ ผสมผสาน กรณีศึกษาเขตเมืองเก่า จังหวัดเชียงใหม่., ทุนสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สกสว. (ปีงบประมาณ 2561). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2019,
การออกแบบภูมิทัศน์วัฒนธรรมด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนกรณีศึกษาพื้นที่ชุมชนช้างม่อย จังหวัดเชียงใหม่., ทุนวิจัยโครงการโครงการคนไทยสร้างชาติ การศึกษารายกรณีพลเมืองไทยกับความเข้มแข็งของชุมชน (ด้านการมีส่วนร่วมเพื่อดำรงรักษาประโยชน์ส่วนรวมของชุมชน) สำนักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2019,
แนวทางการพัฒนาย่านน่าอยู่อย่างยั่งยืนในเขตเทศบาลเมืองลำพูน, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ชุดโครงการเมืองยั่งยืน (ปีงบประมาณ2561). งานวิจัยฉบับสมบูรณ์.