Associate Professor Dr.Umpiga Shummadtayar

Assistant Dean for Planning and Quality Assurance

Email : umpiga.sh@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2014, Doctor of Engineering, Urban Planning, Saga University

  • 2009, การผังเมืองมหาบัณฑิต, การผังเมือง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  • 2007, การผังเมืองบัณฑิต, การผังเมือง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานทางวิชาการ / Publications

    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

  • 2021, กระบวนการฟื้นฟูท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น (มะะจิซุคุริ): บทบาทของมหาวิทยาลัยกับการเชื่อมโยงความร่วมมือด้านมิติการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและออกแบบสภาพแวดล้อม ชุมชนฮิเซนฮามะ จังหวัดซากะ, ใน ศิริพร วัชชวัลคุ, รวมบทความวิจัย เรื่อง ญี่ปุ่นในศตวรรษใหม่ (pp 49-74). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ISBN 978-616-488-158-7
  • 2021, ญี่ปุ่นอย่างที่เป็น ลำดับที่ 19 พัฒนาการผังเมืองประเทศญี่ปุ่นจากภาครัฐสู่การมีส่วนร่วมของชุมชน, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ISBN 978-616-488-176-1, http://www.japanwatch.today/en/publication/monographs-minibooks?page=2
  • 2019, การออกแบบเมืองและพื้นที่การเรียนรู้ตลอดชีวิต., ใน ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ, มรดกเมือง มรดกชุมชน หนังสือรวมบทความวิชาการสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อม (หน้า 63-72). เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ISBN 9786163984258
  • 2017, เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 801371 เคหการ

    บทความวิชาการ / research / academic conferences

  • 2023, A GIS network analysis in Planning Location for Lampang Smart Mobility Hubs, APPEEC 2023 Conference, Elements of a Smart City: Engineering and Urban Planning Perspectives, Chiang Mai Marriott Hotel, Chiang Mai, Thailand.
  • 2021, Social Interaction of Communities’ Tourism Networks for Local Development and Organization, CITIES International Conference 2021, Post Pandemic Cities: A Paradigm Shift?, October 20th-21st, 2021 at Online Zoom Platform, Surabaya, Indonesia. Paper ID: 39.
  • 2019, การบูรณาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ พื้นที่โดยรอบตามแนวแกนเมืองมรดกโลก ศรีสัชนาลัย–สุโขทัย–กำแพงเพชร, วัชพงษ์ ชุมดวง และอัมพิกา ชุมมัธยา (2562). การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติและการสัมมนาระดับบัณฑิตศึกษา หัวข้อ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” ระหว่างวันที่ 6 – 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 31-43.
  • 2018, Exploring Land use Impact on Its Surrounding Area of University and Towns: A Case Study of Chiang Mai University, Thailand, International Symposium on Lowland Technology (ISLT2018), September 26th- September 28th, 2018 at Hanoi, Vietnam. abstract page 264. ISBN: 978.604.82.2483.7.
  • 2017, การศึกษาความพร้อมและข้อจำกัดการอนุรักษ์พลังงานด้านอาคารที่อยู่อาศัย และอาคารธุรกิจในประเทศไทย., งานประชุมวิชาการ ระดับชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2561, 46-47.
  • 2017, การเรียนรู้ตามระบบสหกิจศึกษา การสร้างทักษะวิชาชีพกับการพัฒนาการศึกษาในศตวรรษที่ 21
  • 2015, Identifying Risk of Urban Culture Space through Space Syntax Analysis: A case study of Wualai Silversmith District, Chiang Mai, Thailand, International Conference on East Asian Architectural Culture EAAC2015, November 10-14, 2015, Korea Association of Architectural History, South Korea
  • 2014, THE SELF-ORGANIZATION SYSTEM OF LOW-INCOME INDIVIDUAL INTEGRATION INTO LOWLAND CONDITIONS, the 9th international symposium on lowland technology, Sep 29 - Oct 1, 2014, saga University, Saga, Japan (Best Paper)

    วารสารวิชาการ / research / academic papers

  • 2023, การบูรณาการกิจกรรมทางวัฒนธรรมบนภูมิทัศน์เมืองเชิงประวัติศาสตร์ชุมชน กรณีศึกษาชุมชนช้างม่อยวัดชมพู เชียงใหม่, จิรันธนิน กิติกา, อัมพิกา ชุมมัธยา และคณะ. (2566). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 10(1), 2-25.
  • 2023, ประชาสังคม: ทรัพยากรการเรียนรู้ชุมชนเพื่อการสร้างกลไก เมืองแห่งการเรียนรู้, อจิรภาส์ ประดิษฐ์, อัมพิกา ชุมมัธยา และคณะ. (2566). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 10(1), 26-47.
  • 2022, กระบวนการปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ท้องถิ่นของเยาวชนเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างมีส่วนร่วม, อัมพิกา ชุมมัธยา และคณะ (2565). วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 35(2), 90-108.
  • 2022, สำรวจการก่อรูปทางความคิดและกลไกการขับเคลื่อนเชียงใหม่เมืองแห่งการเรียนรู้ด้วยชุมชน, สันต์ สุวัจฉราภินันท์, อัมพิกา ชุมมัธยา และคณะ (2565). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9(2), 92-113.
  • 2021, กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับ รถจักรยานยนต์เช่าในจังหวัดเชียงใหม่, ภาวิณี เอี่ยมตระกูล, อัมพิกา ชุมมัธยา และคณะ (2564). วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนรินทรวิโรฒ, 24(1), 116-131.
  • 2019, การถอดบทเรียนจาก กิจกรรมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมสู่กระบวนทัศน์ใหม่ในการปรับปรุงฟื้นฟูเมือง เชียงใหม่, อัมพิกา ชุมมัธยา และชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ (2562). วารสารวิชาการบริหารท้องถิ่น Local Administration Journal , 12(2), 216-223. (TCI1)
  • 2018, การขยายตัวของเมืองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทของย่านเมืองเก่าในจังหวัดเชียงใหม่, อัมพิกา ชุมมัธยา และณวิทย์ อ่องแสวงชัย (2561). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 5(1), 61-81.

    ผลงานสร้างสรรค์ / other academic works

  • 2021, โครงการออกแบบและวางผังย่านนวัตกรรมการแพทย์สวนดอก., อัมพิกา ชุมมัธยา และรัฐพงษ์ อังกสิทธิ์ (2564). สถาปัตย์นิทรรศน์ นิทรรศการเผยแพร่ผลงานออกแบบและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5. สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (CDAST). 14-19 ธันวาคม 2564 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย.

    ผลงานวิจัย / research works

  • 2022, การศึกษาท้องถิ่น: หลากมิติการเรียนรู้เมืองเชียงใหม่, ภายใต้ชุดโครงการวิจัย โครงข่ายท้องถิ่นกับการเรียนรู้เมืองเชียงใหม่. สนับสนุนโดยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) (ปีงบประมาณ 2563).
  • 2022, โครงการส่งเสริมและพัฒนาขยายผลทางธุรกิจนวัตกรรมอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่, ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี, กวิน ว่องวิกย์การ, บุรินทร์ ธราวิจิตรกุล, ปฐวี อารยภานนท์, อัมพิกา ชุมมัธยา, อาภาภรณ์ วงศ์ลักษณพันธ์, กานต์ คำแก้ว และ ยุทธนา ทองท้วม (2565). สนับสนุนโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) (ปีงบประมาณ 2564). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 2021, การบริหารจัดการและฟื้นฟูคุณภาพสิ่่งแวดล้อม กิจกรรมฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่แล้ว จังหวัดสระแก้ว, ทุนสนับสนุน กองบริหารงานสิ่งแวดล้อม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2021, การศึกษารูปแบบการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีขนส่งมวลชนกับคุณภาพเมือง สำหรับโครงการรถไฟฟ้ารางเบา จังหวัดเชียงใหม่, ทุนวิจัยมหาบัณฑิต วช. ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปี 2564. รายงานฉบับสมบูรณ์
  • 2021, การศึกษาแนวทางพัฒนาปฏิสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายระดับชุมชนท่องเที่ยวและกลไกการสนับสนุน ตามแนวแกนเมืองมรดกโลก ศรีสัชนาลัย-สุโขทัย-กำแพงเพชร, ภายใต้แผนงานวิจัย แผนบูรณาการการพัฒนาต้นแบบเครือข่ายชุมชนท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ตามแนวแกนเมืองมรดกโลก ศรีสัชนาลัย-สุโขทัย-กำแพงเพชร ทุนสำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.) (ปีงบประมาณ 2562).
  • 2020, กระบวนการฟื้นฟูท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น (มาจิซุกุริ) : บทบาทของมหาวิทยาลัยกับการเชื่อมโยงความร่วมมือด้านมิติการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและออกแบบสภาพแวดล้อมชุมชน, ทุนวิจัย สกสว. (ปีงบประมาณ2562). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
  • 2020, โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อศึกษาความจำเป็นเร่งด่วนในการพัฒนาเมือง การฟื้นฟูเมืองด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเมือง., ทุนสนับสนุนทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2562 (งบบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม) การเคหะแห่งชาติ. รายงานฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, โครงการการปรับปรุงฟื้นฟูชุมชนริมคลองแม่ข่า โดยชุมชนเป็นฐาน., งบประมาณแผ่นดิน (ปีงบประมาณ2561). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, แนวทางการพัฒนาย่านน่าอยู่อย่างยั่งยืนในเขตเทศบาลเมืองลำพูน., ทุนวิจัย สกสว. (ปีงบประมาณ2561). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, แผนงานโครงการการบูรณาการท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์อย่างยั่งยืน พื้นที่โดยรอบตามแนวแกนเมืองมรดกโลก ศรีสัชนาลัย-สุโขทัยกำแพงเพชร., ทุนวิจัย สกสว. (ปีงบประมาณ2561). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมศูนย์ราชการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวคิดสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง, กรุงเทพฯ: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. งานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2018, โครงการการศึกษาช่องว่างเชิงนโยบายในการขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงานในกรุงเทพมหานคร., ทุนเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (ปีงบประมาณ2560), รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2017, โครงการความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ของการขยายตัวของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ต่อรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินชุมชนโดยรอบ, ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ปีงบประมาณ2559). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.