สันต์ สุวัจฉราภินันท์

Email: sant.s@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University

Education Details

  • 2006

    Doctor of Philosophy

    Architecture University College London

  • 2000

    Master of Architecture

    Architecture Cornell University

  • 1996

    สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต

    สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร

Publication

  • • Wrought-Iron : Product of Culture of Fear in Houses in Chiang Mai Urban Area. งานวันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 4 “วิถีวิจัย : นวัตกรรมเพื่อชีวิต” วันที่ 19–20 ธันวาคม 2551 (โปสเตอร์) หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ หน้า -. 2008. 1
  • • คติและความเชื่อที่มีผลต่อการปลูกเรือนเผ่าลาวลุ่มในเขตเมืองหลวงพระบาง. The 3rd International Symposium on Architecture and Culture Suvarnabhumi 2008 (ISACS) ภายใต้ชื่อ “Local Wisdom, Universal Future (ISACS 2008)” ในวันที่ 20 – 22 ตุลาคม 2551 , Proceeding
  • • คติและความเชื่อที่มีผลต่อการปลูกเรือนเผ่าลาวลุ่มในเขตเมืองหลวงพระบาง. The 3rd International Symposium on Architecture and Culture Suvarnabhumi 2008 (ISACS) ภายใต้ชื่อ “Local Wisdom, Universal Future (ISACS 2008)” ในวันที่ 20 – 22 ตุลาคม 2551 , (Oral) คณะส
  • • ปัญหาและความรู้ของที่ว่าง: ศึกษาจากทฤษฎีที่ว่าด้วยที่ว่างของ ฮองรี เลอแฟร์ และมิเชล เดอ แชร์โต. ใน : ธเนศ วงศ์ยานนาวา. รัฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ 60 ปี / รัฐศาสตร์ 30 ปี (เล่ม 2). 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2009 ห
  • • พื้นที่ ภาพตัวแทน และร่างกายในสื่อเกย์. ใน : รศ.ดร.ปีเตดร์ เอ.แจ็คสัน และนฤพนธ์ ด้วงวิเศษ . เปิดประตูสีรุ้ง : หนังสือและเว็บไซด์ของเกย์-กะเทยในสังคมไทย. 1. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง (สคส.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภา
  • • Wrought Iron: the product of the culture of fear in Chiang Mai urban city. การประชุมวิชาการนานาชาติ ISACS2009 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ หน้า931 -939. 2009. 9 ธ.ค. 3 2009 12:00AM (บทความวิชาการเสนอในการประชุมวิชาการ)
  • • สันต์:สุวัจฉราภินันท์. Spaces of Male Prostitution: Tactics, Performativity and Gay Identities in Streets, Go-Go Bars and Magazines in Contemporary Bangkok, Thailand. Journal of Southeast Asian Architecture, Vol. 10 2008 ; 1 : - . (วารสาร)
  • • สันต์:สุวัจฉราภินันท์. พื้นที่กับการต่อรองอัตลักษณ์ทางเพศ. วารสารอักษรศาสตร์ ฉบับวาทกรรม ภาพแทน อัตลักษณ์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 (มค.-มิย.51) 2008 ; 1 : - . (วารสาร)
  • • เบอร์โทรศัพท์ บีบีพิน และนิยามความเป็นส่วนตัวที่เปลี่ยนไป. ใน : นฤมล กล้าทุกวัน. มาราธอน ฉบับ “ออกตัว” รวมบทความและบันทึกเสวนาว่าด้วยอินเทอร์เน็ต การเมือง และวัฒนธรรม. 1. กรุงเทพฯ: เครือข่ายพลเมืองเน็ต; 2012 หน้า294 -302. (หนังสือบางบท)
  • • ปรากฏการณ์วิทยา : ทบทวนการใช้ “รากเหง้าและอัตลักษณ์” ในวาทกรรมของสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย. การประชุมวิชาการ ประจำปี 2555 (Built Environment Research Associates’ Conference: BERAC 3. 2012) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
  • • สัญวิทยา: การถอดรหัสและการประยุกต์อัตลักษณ์ไทยเพื่อเป็นแนวทางการออกแบบ. การประชุมวิชาการ ประจำปี 2555 (Built Environment Research Associates’ Conference: BERAC 3. 2012) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต กรุงเทพฯ หน้า -.
  • • สันต์:สุวัจฉราภินันท์. ชั่วคราว หรือ ค้างคืน ตลอดไป. วารสารสังคมศาสตร์ : วารสารทางวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 23 ฉบับที่ 1-2/2554 2012 ; 1 : 53 - 80. (วารสาร)
  • • การถอดรหัสและการประยุกต์ใช้อัตลักษณ์เพื่อเป็นแนวทางการออกแบบ. เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2012. 109หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)
  • • ความสับสนเชิงทฤษฎีในการใช้สัญวิทยาเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ . การประชุมวิชาการ ประจำปี 2556 Built Environment Research Associates Conference 4, 2013 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี หน้า596 -606. 2013.
  • • พื้นที่กับอัตลักษณ์ของสาวเบียร์ในถนนลอยเคราะห์ จังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการ ประจำปี 2556 Built Environment Research Associates Conference 4, 2013 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี หน้า619 -629. 2013
  • • สันต์:สุวัจฉราภินันท์. ย้อนสำรวจ “ปรากฏการณ์ศาสตร์ในสถาปัตยกรรม” ทบทวนความเข้าใจในประเด็น“รากเหง้า-อัตลักษณ์” และ “หน่วยวิจัย” เชิงปรากฏการณ์. หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย ฉบับที่ 9 (กันยายน 2555-สิงหาคม 2556) 2012 ; 1 : 263
  • • Shall We Get Back to ‘Space’ : Re-engaging with Architectural Theory. ประชุมวิชาการ สถาปัตย์ปาฐะ ในหัวข้อ “The Place of Theory in Architectural Education and Practice” คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในวันที่ 16 – 17 สิงหาคม 2556 หน้า98 -104. 2013
  • • Revisiting and Re-documenting Forgotten Modern Architecture in Chiang Mai, Thailand. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ICOMOS 2013 หัวข้อ “Asian Forgotten Heritage: Perception, Preservation and Presentation” คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในวันที่
  • • วิเคราะห์สัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมและการสื่อสารของอาคารราชการไทยเพื่อหาแนว ทางการออกแบบ. จังหวัดเชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มช.; 2013. 73หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)
  • • 2 มาริญา:ทรงปัญญา,สันต์:สุวัจฉราภินันท์. การผสมผสานวัฒนธรรมอีสานร่วมสมัยในงานออกแบบอัตลักษณ์ตราสินค้า. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Journal of Fine and Applied Arts, Khon Kaen Univesity) 2013 ; 1 : 174 - 194. (วารสาร)

Research

  • “พื้นที่ เมือง และ สถาปัตยกรรม ในแนวคิดทฤษฎีของ ฮองรี เลอแฟบร์” (Space, Urban, and Architecture in Henri Lefebvre’s Theory) ในโครงการวิจัยชุด ปริทรรศน์นักทฤษฎีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ร่วมสมัย
  • “โรงแรมม่านรูด : ประวัติศาสตร์ และภาพตัวแทนของพื้นที่แห่งความเป็นอื่น ในวาทกรรมทางเพศของไทย”
  • กำลังอยู่ในการดำเนินงานวิจัย
  • “การพัฒนากระบวนการเพื่อขับเคลื่อนประชาสังคมเมืองเชียงใหม่”, เสนอต่อคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, ระยะเวลา 12 เดือน (มีนาคม 2564 – กุมภาพันธ์ 2565)
  • กำลังอยู่ในการดำเนินงานวิจัย
  • “การเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิต พื้นที่ทางกายภาพ และ พื้นที่ทางสังคมของเมืองเชียงใหม่จากผลกระทบของระบบสาธารณูปโภคสมัยใหม่ (ระบบไฟฟ้าและสื่อสาร)”
  • ที่ปรึกษาโครงการ
  • การค้นหาอัตลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในทศวรรษก่อตั้ง
  • ที่ปรึกษาโครงการ
  • การออกแบบสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาระบบภาพชี้นำภายในตึกศรีพัฒน์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
  • ผู้ร่วมวิจัย
  • ต้นกล้ารากแก้ว . . การประเมินแนวคิดทางสถาปัตยกรรมร่วมสมัยในภาคเหนือตอนบน
  • ผู้ร่วมวิจัย
  • สภาพภูมิทัศน์วัฒนธรรมล้านนาที่คงเหลือในเมืองเชียงใหม่
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเมืองที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุทางจักรยาน
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • การวิเคราะห์เชิงสัญวิทยาเพื่อเป็นข้อเสนอแนะในการคุ้มครองมรดกทาง สถาปัตยกรรมไทยประเพณี กรณีศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรม วัดไหล่หินหลวง จำลองโรงแรมแมนดาริน โอเรียลเต็ล ดาราเทวี เชียงใหม่
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • จัดประชุม “ปอยปัญญา : หนึ่งทศวรรษมหาบัณฑิต สกว. มนุษยศาสตร์ – สังคมศาสตร์”
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • จากญาณวิทยาสู่กระบวนการวิธีวิจัย : ศึกษาปรากฎการณ์วิทยาในสถาปัตยกรรม
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • ประเด็นหัวข้อ มองสังคมไทยจากหลายมุม
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • พื้นที่เมืองสมัยใหม่กับการเมืองอัตลักษณ์ (ทางเพศสภาพและเพศวิถี)
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • ภาพสะท้อนของความทันสมัย : บันทึกและทบทวนบทบาทของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่เมืองเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๒๗ – ๒๕๑๘
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • วิเคราะห์สัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมและการสื่อสารของอาคารราชการไทยเพื่อหาแนวทางการออกแบบ
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • เหล็กดัด: ผลผลิตวัฒนธรรมความกลัวที่พบในบ้านพักอาศัยในพื้นที่เมืองเชียงใหม่
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้อุตสาหกรรมเหมืองแร่
  • หัวหน้าโครงการในโครงการวิจัยชุด
  • “สำรวจพื้นที่ทางสังคม : อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน” (กลุ่มงานมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์),
  • 2015

  • วิจัยโครงการปอยปัญญา : หนึ่งทศวรรษมหาบัณฑิต สกว. มนุษยศาสตร์ – สังคมศาสตร์, ทุนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2558
  • 2015

  • โปสเตอร์งานสร้างสรรค์ บ้านดอนแก้ว โครงการประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” 2 เม.ย.2558
  • 2015

  • โปสเตอร์งานสร้างสรรค์ ประตูสู่ภาคเหนือ โครงการประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” 2 เม.ย.2558
  • 2020

    Header
  • NRCT5-RSA63004-20 ตีความประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ ผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่และ “พื้นที่สาธารณูปโภค” (ระบบไฟฟ้าและสื่อสาร)
  • 2020

    Header
  • สำรวจพื้นที่ทางสังคม: อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน
  • 2020

    Header
  • โครงการการบริหารจัดการและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม กิจกรรมฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่แล้ว จังหวัดสระแก้ว
  • 2021

    Header
  • ตีความประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ ผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่และ “พื้นที่ของสาธารณูปโภค” (ระบบไฟฟ้าและสื่อสาร)

Paper

    2020

  • “พื้นที่ในชีวิตประจำวันของผู้เกษียณอายุที่พำนักระยะยาวชาวญี่ปุ่นในเมืองเชียงใหม่” (Space in Everyday Life of Retired Japanese Long Stay in the City of Chiang Mai). วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม
  • 2019

  • “การสังเคราะห์ความเชื่อมโยงทางทฤษฎีของตัวตน พื้นที่ และ ชีวิตประจำวัน” (The Synthesis of Theoretical Connection of Being, Space, and Everyday Life). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค.
  • 2017

  • “Politics of the Location: The Location of Politics Building Modernity with Chiang Mai’s Educational Institution Buildings Between 1867-1915”. In E-proceeding. Vol.5. 13th International Conference on Thai Studies. 15-18 July 2017, Chiang Mai. Thailand, pp
  • 2017

  • “The Study of Private Modern Houses in Boeung Keng Kang Area in Relation to Public Modern Khmer Architecture and Urban Development of Phnom Penh in the 1960s”, in NaJue (History of Architecture and Thai Architecture) ฉบับว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและ
  • 2016

  • บทความความรุ่งโรจน์และการเสื่อมลงของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่: กรณีของสถานีรถไฟแห่งเมืองสีหนุ, BERAC VII, 2016 ISBN: 978-974-466-500-3
  • 2016

  • บทความสำรวจสถาปัตยกรรมเชียงใหม่ในยุคการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองช่วงระหว่าง ปี พ.ศ. 2427 – 2475, BERAC VII, 2016 ISBN: 978-974-466-500-3
  • 2016

  • หนังสือเชียงใหม่-ใหม่ : สถาปัตยกรรมสมัยใหม่แห่งเมืองเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ.2427-2518, 2559
  • 2016

  • “ย้อนอ่านสถาปัตยกรรมตึกแถวในถนนท่าแพ : เส้นทางของความทันสมัยเมืองเชียงใหม่” (“Re-reading Architecture of Row-Houses in Thapae Road : a Passage of Chiang Mai’s Modernization”), in NaJue (History of Architecture and Thai Architecture) ฉบับว่าด้วยประวัติศาสต
  • 2015

  • บทความ Exploring Chiang Mai Architecture in Political Transition Period, between 1884 - 1947 , วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (TCI กลุ่ม 2) Vol 2 No 2 (2015): VOL.2 NO.2
  • 2015

  • บทความภาพสะท้อนความทันสมัย: ทบทวนบทบาทสถาปัตยกรรมสมัยใหม่เมืองเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ.2427–2518, วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง (JARS) Volume 12(1), October 2015
  • 2015

  • วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง, 12(1), 65-87.
  • 2014

  • ICOMOS, Thailand International Conference 2013 (92–103). Chiang Mai: Chiang Mai University,
  • 2014

    งานตีพิมพ์ผลงานวิจัย/บทความทางวิชาการ วารสารระดับนานาชาติ ที่ไม่ได้อยู่ในฐานข้อมูลสากล
  • นำเสนอบทความในส่วนของ ต่างประเทศ? (International) ในการประชุมวิชาการ ICOMOS: Thailand ที่จัดที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์? มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2014

  • ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5(2), 174-194.
  • 2014

  • หนังสือว่าด้วยทฤษฎีสถาปัตยกรรม : พื้นที่สาธารณะและพื้นที่ทางสังคม, 2557
  • 2009

    งานตีพิมพ์ผลงานวิจัย/บทความทางวิชาการ วารสารที่ได้รับการยอมรับจากแหล่งทุนภายในประเทศ
  • Fantasized Romanticity: a Place for One Night Stand
  • 2009

    งานตีพิมพ์ผลงานวิจัย/บทความทางวิชาการ วารสารที่ได้รับการยอมรับจากแหล่งทุนภายในประเทศ
  • The Problem and the Knowledge of Space: Exploring through Spatial Theories of Henri Lefebvre and Michel de Certeau ปัญหาและความรู้ของที่ว่าง: ศึกษาจากทฤษฏีที่ว่าด้วยที่ว่างของฮองรี เลอแฟร์ และมิเชล เดอ เซอร์โต
zz