Associate Professor Dr.Karuna Raksawin

Associate Professor

Email : karuna.r@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2011, Doctor of Engineering, Urban Planning and Design, Osaka City University

  • 2001, สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, การออกแบบชุมชนเมือง, มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • 1999, สถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต, สถาปัตยกรรม, มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานทางวิชาการ / Publications

    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

  • 2015, แนวคิดในการศึกษาลักษณะตึกแถวล้านนาไทย, แนวคิดในการศึกษาลักษณะตึกแถวล้านนาไทย. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

    บทความวิชาการ / research / academic conferences

  • 2023, การประเมินตรอกทางเดินเชื่อมซอยมะยมสู่ถนนข้าวสารด้วยแบบสํารวจการออกแบบ สภาพแวดล้อมเพื่อการป้องกันอาชญากรรม, ธญา วุฒิมานพ และ กรุณา รักษวิณ. (2566). การประชุมทางวิชาการครั้งที่ 61 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน: 192-199.
  • 2023, การวิเคราะห์จำนวนอาคารในพื้นที่การอนุรักษ์เพื่อการอยู่อาศัยของผังเมืองรวมชุมชนเชียงคำ-สบบง-บ้านทราย จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2562, อังค์วรา พัวพันธ์รักษกุล และ กรุณา รักษวิณ. (2566). การประชุมทางวิชาการครั้งที่ 61 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน: 200-207.
  • 2023, แนวทางการออกแบบด้วยวัสดุและการตกแต่งทางรถไฟยกระดับบริเวณจุดตัดทางรถไฟเหมืองง่า จังหวัดลําพูน, กัญญาวีร์ บุญปัญญา และ กรุณา รักษวิณ. (2566). การประชุมทางวิชาการครั้งที่ 61 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน: 185-191.
  • 2019, Perception of Local Identity to Roi-et Provincial Hall, Environment-behaviour proceedings journal. 4(11), 137-142.
  • 2019, The Application of Geographic Information System for Analysis of Using Pattern of Tha Pae Gate, Chiang Mai, Thailand, Environment-behaviour proceedings journal, 4(10), 200-211.
  • 2019, The Physical Factors Comparison on Running-Bicycle Route in Chiangmai, Environment-behaviour proceedings journal. 4(11), 109-115.
  • 2019, การเสนอแนะการกำหนดลักษณะสีภายนอกอาคารในย่านอนุรักษ์เมืองเชียงใหม่ด้วยระบบสีมันเซล, หนังสือรวมบทความการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 515-524.
  • 2019, รูปแบบพฤติกรรมการใช้งานลานงิ้วเจ้าพ่อแก้วเมืองบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร, การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติและการสัมมนาระดับบัณฑิตศึกษา หัวข้อ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” ระหว่างวันที่ 6 – 7 มิถุนายน 2562 (pp 267 - 282). เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2018, Color Controls for Historic Areas of Chiang Mai Old City: The Appropriation of Munsell Color System., international conference on design, innovation, and creativity, conference proceedings, 33-37.
  • 2017, Colours Convey Lanna Identity in Lamphun and Chiang Mai Area, Iop conference series: materials science and engineering, scopus, 1, 245-256.
  • 2017, Public Space
  • 2013, ความชื่นชอบรูปด้านหน้าอาคารตึกแถวจังหวัดลำปาง
  • 2008, Color of Chiang Mai Historical City

    วารสารวิชาการ / research / academic papers

  • 2021, Land-Use Readjustment For Roi Et Government Centre, Thailand., IOP Conference Series: Materials Science and Engineering, Scopus, 1(203), 1-6.
  • 2021, Redevelopment of Huai Khwang Housing Project Responsive to Users’ Spatial Behaviors, IOP Conference Series: Materials Science and Engineering Online, Scopus, 1(203), 1-5.
  • 2020, Identity on the Facade of Roi Et Provincial Hall, Keawpeela, P., Raksawin, K. & Suthasupa, S. (2020). Asian Journal of Environmentbehaviour Studies, 5(15), 29-42.
  • 2020, การทดลองออกแบบรูปด้านหน้าศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด, วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 11(2): 57-71.
  • 2019, การเปรียบเทียบปัจจัยทางกายภาพบนเส้นทางวิ่งและปั่นจักรยาน บริเวณด้านหน้าสนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี, ธนพร พันธุ์นรา และกรุณา รักษวิณ (2562). Veridian e-journal Silpakorn University, 4(12), 1347-1364.
  • 2019, The Pattern of Activity Analysis by GIS in Chiang Mai Public Plaza, Thailand, Asian journal of environment-behaviour studies, 4(13): 30-44. doi: https://doi.org/10.21834/aje-bs.v4i13.346

    ผลงานวิจัย / research works

  • 2020, การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อศึกษาความจำเป็นเร่งด่วนในการพัฒนาเมือง การฟื้นฟูเมืองด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเมือง., ทุนสนับสนุนทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2562 (งบบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม) การเคหะแห่งชาติ. รายงานฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, การจัดการสิ่งแวดล้อมศูนย์ราชการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวคิดสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง, ทุนสนับสนุน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงานฉบับสมบูรณ์.