รองศาสตราจารย์ ดร.ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ

Email : channarong.sri@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2011, Doctor of Philosophy, Architectural Conservation and urban design, Universita Politecnica delle Marche

  • 1998, ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม, มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • 1993, ศิลปบัณฑิต, ศิลปะไทย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผลงานทางวิชาการ / Publications


    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

    1. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2567).Line เส้น บันทึกสถาปัตยกรรม 4(พิมพ์ครั้งที่ 1).ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

    2. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2565).Line เส้น บันทึกสถาปัตยกรรม 2(พิมพ์ครั้งที่ 1).เชียงใหม่: พลอยการพิมพ์.

    3. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2565).Line เส้น บันทึกสถาปัตยกรรม 3(พิมพ์ครั้งที่ 1).ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

    4. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2563).คุ้มบ้านเจ้า เฮือนเก่าล้านนา: ลักษณะสถาปัตยกรรมและลวดลายประดับอาคาร(พิมพ์ครั้งที่ 1).มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.https://cmu.bookcaze.com/index.php?route=product/product&product_id=23204&search=%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%A1

    5. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2562).Line เส้น บันทึกสถาปัตยกรรม 1(พิมพ์ครั้งที่ 1).ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

    6. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2562).เรือนล้านนาและลวดลายประดับอาคารประเภทคุ้มและที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่ในเขตภาคเหนือ(พิมพ์ครั้งที่ 1).สำนักพิมพ์ภีระเพลส.

    7. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2562).เรือนล้านนาและลวดลายประดับอาคารประเภทคุ้มและที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่ในเขตภาคเหนือ(พิมพ์ครั้งที่ 1).สำนักพิมพ์ภีระเพลส.

    8. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2558).นำเรื่องพัฒนาการของพุทธสถาปัตยกรรมในประเทศไทย.ใน ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ (บ.ก.).พุทธสถาปัตยกรรม(น.).เชียงใหม่ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภัทระพรีเพลส.


    บทความวิชาการ / research / academic conferences

    1. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2567,มิถุนายน 7).การสร้างความความเข้มแข็งให้กับชุมชน เพื่อนำไปสู่การปกป้อง มรดกทางวัฒนธรรม ผ่านกระบวนการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม และการจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น : กรณีศึกษา วัดพวกแต้ม วัดป่าตึง และวัดป่าสักน้อย จังหวัดเชียงใหม่ The strengthening communities action for cult..งานประชุมวิชาการระดับชาติ The 9th Engagement Thailand Conference 2024.เชียงใหม่.

    2. Srisuwan, C.(2023,April 2).Lanna house and Decorative Ornaments: Case study of the large scale residential building in The upper Northern Thai region..9th SSEASR Conference on Sacredness, Symbolism, and Society: Practices in South and Southeast Asia, An IAHR Regional Conference.Tribhuvan University, Kathmandu, Nepal.

    3. ภาณุพงศ์ ธรรมวงศ์ และชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2566,).การแปรความหมายศาสนสถานด้วยวิธีสัญวิทยา : กรณีศึกษาผังวัดล้านนาภายในขอบเขตพื้นที่เมืองประวัติศาสตร์เชียงใหม่..โครงการประชุมวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 14 | 14th GRADUATE INTEGRITY : GI14. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง..

    4. XIN, L. & Srisuwan, C.(2020,).Knoledge Management of the Pung Thao Kong Shrine (Ton Lamyai Market) For Chinese in Chiang Mai and Worshipers to Better Understand)..The 5th National & the 2nd International Academic Conference.Lupburi: Thepsatri Rajabhat University.

    5. Shummadtayar, U. & Srisuwan, C.(2018,September 26-28).Exploring Land use Impact on Its Surrounding Area of University and Towns: A Case Study of Chiang Mai University, Thailand..International Symposium on Lowland Technology (ISLT 2018).Hanoi, Vietnam.

    6. วิฑูรย์ เหลียวรุ่งเรือง, รัฏฐา ฤทธิศร, วิภาดา ศุภรัฐปรีชา, ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ, วิภาดา ศุภรัฐปรีชา และรัตน์ ตัณฑจำรูญ.(2559,9 กันยายน).องค์ความรู้สถาปัตยกรรมล้านนา ด้านที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่..การประชุมสัมมนาวิชาการล้านนาคดีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2559 หัวข้อ “ล้านนากับเพื่อนบ้าน”.สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

    7. Srisuwan, C.(2011,July 8-9).Overlay Housing Phenomenon in historical town: Case study of Wiang Kum Kam, Chiang Mai, Thailand..the 9th China Urban Housing Conference.Hong Kong, China.


    วารสารวิชาการ / research / academic papers

    1. อัมพิกา ชุมมัธยา และชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2562).การถอดบทเรียนจากกิจกรรมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมสู่กระบวนทัศน์ใหม่ในการปรับปรุงฟื้นฟู.วารสารวิชาการบริหารท้องถิ่น Local Administration Journal,1(2),216-232.

    2. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2555).โฟโตแกรมเมตรีกับงานอนุรักษ์สถาปัตยกรรม : ทบทวนองค์ความรู้และความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้กับงานสถาปัตยกรรมไทย.หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย,1(9),159-185.


    ผลงานสร้างสรรค์ / other academic works

    1. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(มกราคม 19,2567).พิพิธภัณฑ์เครื่องถ้วยสันกำแพง วัดป่าตึง อ.สันกำแพง จ.เชียงใหม่.สถาปัตย์นิทรรศน์ ครั้งที่ 7 สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ แห่งประเทศไทย CDAST.

    2. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(ธันวาคม 14-19,2564).รากวัฒนธรรมล้านนา : ประติมากรรมเพื่อส่งเสริมสิ่งแวดล้อมเมืองผ่านภูมิปัญญาสถาปัตยกรรม..สถาปัตย์นิทรรศน์ นิทรรศการเผยแพร่ผลงานออกแบบและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5 สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (CDAST).

    3. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(ธันวาคม 13-23,2561).โครงการออกแบบพิพิธภัณฑ์ชุมชน พวกแต้มคัวตอง การอนุรักษ์และปรับปรุง อาคาร หอไตร อาคารศาสนา และพัฒนาภูมิทัศน์โดยรอบ วัดพวกแต้ม อ.เมือง จ.เชียงใหม่..สถาปัตย์นิทรรศน์ นิทรรศการเผยแพร่ผลงานออกแบบและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 2. สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (CDAST).


    ผลงานวิจัย / research works

    1. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2563).ภูมิปัญญาสถาปัตยกรรมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน.ทุนสำนักงานวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2563. รายงานฉบับสมบูรณ์.

    2. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2563).แผนงานวิจัยการพัฒนาการท่องเที่ยวด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน จังหวัดเชียงใหม่..จัดทำร่างเอกสารเสนอต่อ UNESCO. ทุนสนับสนุน องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อ.บ.จ.) จ.เชียงใหม่ เฟสที่ 5 (ระหว่างปี 2562-2563). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.

    3. ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ.(2562).แนวทางในการพัฒนาด้านกายภาพของวัดที่สำคัญในจังหวัดเชียงใหม่.โครงการ ยุทธศาสตร์มุ่งเป้า ด้านสถาปัตยกรรมเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.