รองศาสตราจารย์ ดร.สันต์ สุวัจฉราภินันท์

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

Email : sant.s@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2006, Doctor of Philosophy, Architecture, University College London

  • 2000, Master of Architecture, Architecture, Cornell University

  • 1996, สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต, สถาปัตยกรรม, มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานทางวิชาการ / Publications

    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

  • 2021, Modern Architecture: Chiang Mai buildings in the 60s and 70s, (Ebook). Chiang Mai : Chiang Mai University Press, ISBN 9786163985408, https://cmu.bookcaze.com/index.php?route=product/product&product_id=25704
  • 2021, สำรวจพื้นที่ทางสังคม อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน, 1, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ศยาม ในเครือบริษัทสำนักพิมพ์สยามปริทัศน์ จำกัด, ISBN 9786164860476, https://kledthai.com/9786164860476.html?fbclid=IwAR15p2YhQ4rjmHxSrM_yCI4s2BYAtywyu-aiU_NRJLIsS5RJUEupBbr2Qek
  • 2020, 13 บทวิจารณ์สถาปัตยกรรม., กรุงเทพฯ : Commonbooks. ISBN 9786168179031
  • 2020, พื้นที่ เมือง และสถาปัตยกรรมในแนวคิดทฤษฎีของ อ็องรี เลอแฟบร์., ปริทรรศน์ นักทฤษฎีมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ (ใน วิศรุต พึ่งสุนทร). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์คบไฟ. ISBN 9786167150864
  • 2018, พื้นที่ซอย : ความหลากหลายในพื้นที่สาธารณะแบบไทยๆ, (หน้า415 -477). ถกเถียงเรื่องคุณค่า 2 ว่าด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรม 1 (ใน เสาวณิต จุลวงศ์). กรุงเทพมหานคร: วิภาษา.
  • 2018, เอกสารคำสอน รายวิชา 801724 : ทฤษฎีเชิงวิพากษ์ทางสถาปัตยกรรม, เชียงใหม่ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2016, เชียงใหม่-ใหม่ : สถาปัตยกรรมสมัยใหม่แห่งเมืองเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ. 2427-2518, เชียงใหม่-ใหม่ : สถาปัตยกรรมสมัยใหม่แห่งเมืองเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ. 2427-2518. เมืองเชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2014, พื้นที่ทางสังคม’ : การผสานรอยแยกของพื้นที่กายภาพและนามธรรม, ใน สันต์ สุวัจฉราภินันท์, ว่าด้วยทฤษฎีสถาปัตยกรรม: พื้นที่สาธารณะและพื้นที่ทางสังคม, พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2014, ว่าด้วยทฤษฎีสถาปัตยกรรม: พื้นที่สาธารณะและพื้นที่ทางสังคม
  • 2012, เบอร์โทรศัพท์ บีบีพิน และนิยามความเป็นส่วนตัวที่เปลี่ยนไป
  • 2009, ปัญหาและความรู้ของที่ว่าง: ศึกษาจากทฤษฎีที่ว่าด้วยที่ว่างของ ฮองรี เลอแฟร์ และมิเชล เดอ แชร์โต, รัฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ 60 ปี / รัฐศาสตร์ 30 ปี (เล่ม 2), ธเนศ วงศ์ยานนาวา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
  • 2009, พื้นที่ ภาพตัวแทน และร่างกายในสื่อเกย์

    บทความวิชาการ / research / academic conferences

  • 2023, The Role of Local Communities in Chiang Mai Wildfire Management, Na Chiangmai, W., Suwatcharapinun, S., Sararit, T., & Vaddhanaphuti, C. (2023, June, 3). In T. Kondo & L. Maly (Chairs), Tensions between tradition and innovation in disaster risk reduction, climate action, and reconstruction . 2023 international i-Rec conference, The International Research Institute of Disaster Science (IRIDeS), Tohoku University, Sendai, Japan.
  • 2022, Fantazied Romanticity: Rethinking the Roles of Curtained Motel in Thai Contemporary Culture
  • 2022, Spatial factors impacting wildfire management in case of local community living in forest area in Chiang Mai, Thailand
  • 2017, Politics of the Locatioin: The Location of Politics Building Modernity with Chiang Mai’s Educational Institution Buildings Between 1867-1915
  • 2016, The Rise and Fall of Sihanoukville Modern Architecture: Sihanoukville Railway Station, การประชุมวิชาการ The 7th Built Environment Research Associates’ Conference 2016 (BERAC 7), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี.
  • 2016, ถอดรหัสภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์ประยุกต์สู่การออกแบบร่วมสมัย
  • 2016, สำรวจสถาปัตยกรรมเชียงใหม่ในยุคการเปลี่ยนผ่านทางการเมือง ช่วงระหว่างปี พ.ศ.2427-2475, การประชุมวิชาการ The 7th Built Environment Research Associates’ Conference 2016 (BERAC 7), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี.
  • 2015, บ้านดอนแก้ว
  • 2015, ประตูสู่ภาคเหนือ
  • 2013, Revisiting and Re-documenting Forgotten Modern Architecture in Chiang Mai, Thailand
  • 2013, Shall We Get Back to ‘Space’ : Re-engaging with Architectural Theory
  • 2013, ความสับสนเชิงทฤษฎีในการใช้สัญวิทยาเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ, การประชุมวิชาการ the 4 Built Environment Research Associates Conference 2013 (BERAC4), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี.
  • 2013, พื้นที่กับอัตลักษณ์ของสาวเบียร์ในถนนลอยเคราะห์ จังหวัดเชียงใหม่, การประชุมวิชาการ the 4 Built Environment Research Associates Conference 2013 (BERAC4), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี.
  • 2012, ปรากฏการณ์วิทยา : ทบทวนการใช้ “รากเหง้าและอัตลักษณ์” ในวาทกรรมของสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย, การประชุมวิชาการ the 3 Built Environment Research Associates’ Conference 2012 (BERAC3), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, ปทุมธานี.
  • 2012, สัญวิทยา: การถอดรหัสและการประยุกต์อัตลักษณ์ไทยเพื่อเป็นแนวทางการออกแบบ, การประชุมวิชาการ the 3 Built Environment Research Associates’ Conference 2012 (BERAC3), คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, ปทุมธานี.
  • 2011, Methodological Trouble: Re-considering the Phenomenologist Exploration of the Identity of Thai Architecture, The Asian Conference on Cultural Studies in The Asian Conference on Cultural Studies, 23 – 25 มีนาคม 2554 ประเทศญี่ปุ่น
  • 2009, Wrought Iron: the product of the culture of fear in Chiang Mai urban city
  • 2008, Wrought-Iron : Product of Culture of Fear in Houses in Chiang Mai Urban Area
  • 2008, คติและความเชื่อที่มีผลต่อการปลูกเรือนเผ่าลาวลุ่มในเขตเมืองหลวงพระบาง
  • 2008, คติและความเชื่อที่มีผลต่อการปลูกเรือนเผ่าลาวลุ่มในเขตเมืองหลวงพระบาง

    วารสารวิชาการ / research / academic papers

  • 2023, Modernization of Chiang Mai’s Infrastructural Space: A Case Study of its Electricity and Telecommunications Systems, Suwatcharapinun, S., & Kitaka, C. (2023). Journal of Mekong Societies, 19(3), 54–77.
  • 2023, การบูรณาการกิจกรรมทางวัฒนธรรมบนภูมิทัศน์เมืองเชิงประวัติศาสตร์ชุมชน กรณีศึกษาชุมชนช้างม่อยวัดชมพู เชียงใหม่, จิรันธนิน กิติกา, สันต์ สุวัจฉราภินันท์ และคณะ. (2566). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 10(1), 2-25. (TCI1)
  • 2023, ประชาสังคม: ทรัพยากรการเรียนรู้ชุมชนเพื่อการสร้างกลไก เมืองแห่งการเรียนรู้, อจิรภาส์ ประดิษฐ์, สันต์ สุวัจฉราภินันท์ และคณะ. (2566). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 10(1), 26-47. (TCI1)
  • 2023, อินสตาแกรมสเปซ : วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสถาปัตยกรรมฉาก, ทุนและปฏิบัติการเชิงพื้นที่ กรณีร้านกาแฟเชียงใหม่, วราพล สุริยา และสันต์ สุวัจฉราภินันท์. (2566). วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย (Built Environment Inquiry – BEI) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 22(3), 173–190.
  • 2022, กระบวนการปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ท้องถิ่นของเยาวชนเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างมีส่วนร่วม, อัมพิกา ชุมมัธยา, สันต์ สุวัจฉราภินันท์ และคณะ. (2565). วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 35(2), 90-108. (TCI1)
  • 2022, พื้นที่สาธารณูปโภคเมืองเชียงใหม่: ประวัติศาสตร์การพัฒนาของระบบไฟฟ้าและระบบสื่อสาร ตั้งแต่ พ.ศ. 2500-ปัจจุบัน, สันต์ สุวัจฉราภินันท์ และ จิรันธนิน กิติกา (2565). หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 19(1), 234-259. (TCI2)
  • 2022, สำรวจการก่อรูปทางความคิดและกลไกการขับเคลื่อนเชียงใหม่เมืองแห่งการเรียนรู้ด้วยชุมชน, สันต์ สุวัจฉราภินันท์ และคณะ (2565). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9(2), 92-113.
  • 2021, โรงแรมม่านรูด: ภาพตัวแทนของพื้นที่แห่งความเป็นอื่นของวารกรรมทางเพศ-เพสสภาพของไทย, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 18 (2), 6-41.
  • 2020, พื้นที่ในชีวิตประจำวันของผู้เกษียณอายุที่พำนักระยะยาวชาวญี่ปุ่นในเมืองเชียงใหม่, วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 11, 1 - 14.
  • 2019, การสังเคราะห์ความเชื่อมโยงทางทฤษฎีของตัวตน พื้นที่ และชีวิตประจำวัน, วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 6(2), 21-35.
  • 2017, The Study of Private Modern Houses in Boeung Keng Kang Area in Relation to Public Modern Khmer Architecture and Urban Development of Phnom Penh in the 1960s, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์ และสถาปัตยกรรมไทย, 4(1), 150 - 171.
  • 2016, ย้อนอ่านสถาปัตยกรรมตึกแถวในถนนท่าแพ : เส้นทางของความทันสมัยเมืองเชียงใหม่, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์ และสถาปัตยกรรมไทย, 13 (มกราคม 2559 – ธันวาคม 2559), 230-259.
  • 2015, Exploring Chiang Mai Architecture in Political Transition Period, between 1884 – 1947, พีระพงษ์ พรมชาติและ สันต์ สุวัจฉราภินันท์ (2558). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมสาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2(2), 48-78.
  • 2015, ภาพสะท้อนความทันสมัย: ทบทวนบทบาทสถาปัตยกรรมสมัยใหม่เมืองเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ.2427 - 2518, วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง (JARS), 12(1), 79-101
  • 2013, การดำรงอยู่ของพื้นที่ชายขอบในเมืองสมัยใหม่, วารสารหน้าจั่ว สถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม, 27(กันยายน 2555 - สิงหาคม 2556), 263-277.
  • 2013, การผสมผสานวัฒนธรรมอีสานร่วมสมัยในงานออกแบบอัตลักษณ์ตราสินค้า, วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Journal of Fine and Applied Arts, Khon Kaen Univesity), 5(2), 174-194
  • 2012, ย้อนสำรวจ “ปรากฏการณ์ศาสตร์ในสถาปัตยกรรม” ทบทวนความเข้าใจในประเด็น“รากเหง้า-อัตลักษณ์” และ “หน่วยวิจัย” เชิงปรากฏการณ์, หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย, 9 (กันยายน 2555-สิงหาคม 2556), 164-183.
  • 2011, ชั่วคราว หรือ ค้างคืน ตลอดไป (Fantasized Romanticity : A Place for One Night Stand), วารสารสังคมศาสตร์ : วารสารทางวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 23(1-2),
  • 2010, หาเรื่องมอง: ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมทางสายตาและสถาปัตยกรรม, วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Journal of Fine Arts, 1(1), 142-156.
  • 2008, Spaces of Male Prostitution: Tactics, Performativity and Gay Identities in Streets, Go-Go Bars and Magazines in Contemporary Bangkok, Thailand, Journal of Southeast Asian Architecture, 10(1), ........
  • 2008, พื้นที่กับการต่อรองอัตลักษณ์ทางเพศ, วารสารอักษรศาสตร์ ฉบับวาทกรรม ภาพแทน อัตลักษณ์, 37(1), ..........

    ผลงานวิจัย / research works

  • 2022, โครงข่ายท้องถิ่นกับการเรียนรู้เมืองเชียงใหม่, สนับสนุนโดยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) (ปีงบประมาณ 2563).
  • 2021, การบริหารจัดการและฟื้นฟูคุณภาพสิ่่งแวดล้อม กิจกรรมฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่แล้ว จังหวัดสระแก้ว., ทุนสนับสนุน กองบริหารงานสิ่งแวดล้อม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2020, สำรวจพื้นที่ทางสังคม : อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน., สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (ปีงบประมาณ2559). กลุ่มงานมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ หัวหน้าโครงการในโครงการวิจัยชุด “สำรวจพื้นที่ทางสังคม : อัตลักษณ์ ปฏิบัติการ และภาพตัวแทน ในโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2019, โรงแรมม่านรูด : ประวัติศาสตร์ และภาพตัวแทนของพื้นที่แห่งความเป็นอื่น ในวาทกรรมทางเพศของไทย., ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ รุ่น 14 (ปีงบประมาณ2559) ภายใต้กลุ่มหัวข้อ “อัตลักษณ์และการปรับตัวในพื้นที่เมืองสมัยใหม่”. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2018, อัตลักษณ์ การปรับตัว และพื้นที่ : สำรวจผ่านที่พำนักระยะยาวของชาวญี่ปุ่นในเมืองเชียงใหม่, ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ รุ่น 13 (ปีงบประมาณ2560). ภายใต้กลุ่มหัวข้อวิจัย “อัตลักษณ์และการปรับตัวในพื้นที่เมืองเชียงใหม่”. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2018, พื้นที่ เมือง และ สถาปัตยกรรม ในแนวคิดทฤษฎีของ ฮองรี เลอแฟบร์ (Space, Urban, and Architecture in Henri Lefebvre’s Theory)., ใน วิศรุต พึ่งสุนทร, โครงการวิจัยชุด ปริทรรศน์นักทฤษฎีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ร่วมสมัย (Introduction to Contemporary Theorists in the Humanities and Social Science) ภายใต้ ชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย. ทุนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (กลุ่มงานมนุษยศาสตร์) (ปีงบประมาณ2559). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2018, พื้นที่ซอย : ความหลากหลายในพื้นที่สาธารณะแบบไทยๆ (Spaces of Soi : Diversity in Thai Public Space), ทุนวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กลุ่มงานมนุษยศาสตร์ (ปีงบประมาณ2560). โครงการวิจัยชุด ถกเถียงเรื่องคุณค่า ว่าด้วยความหลากหลายทางวัฒนธรรม. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
  • 2017, Smarter Living-Smart City and Home for Aging Society, สนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ปีงบประมาณ2559). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.