ARCH CMU
ประวัติการศึกษา / Educations
2019,
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น,
มหาวิทยาลัยศิลปากร
2016,
ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต,
ภูมิสถาปัตยกรรม,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2009,
สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต,
สถาปัตยกรรม,
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ผลงานทางวิชาการ / Publications
ตำรา-ทั้งเล่ม / books
1. อัมพิกา อำลอย.(2566).เอกสารประกอบการสอนวิชา ทฤษฎี ปรัชญา และปฏิบัติการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมเบื้องต้น(1).คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2. อัมพิกา อำลอย.(2563).สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทย().กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์.ISBN: 978-616-7384-39-9
บทความวิชาการ / research / academic conferences
1. Aumpika Amloy, Wonglangka, W., Ounchanum, P., Ruangwitthayanusorn, S., Siriphon, A., & Oranratmanee, R..(2024,23 May).Cultural Landscape Preservation and Sustainable Environmental Development in the Agricultural Communities of Nagaland, India..The 2nd International Conference on Business, Economics, and Hospitality 2024 (ICBEH 2024).PREM Auditorium, Thaksin University, Songkhla, Thailand.
2. อัมพิกา อำลอย.(2567,5 พฤษภาคม).การบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาชุมชนบ้านนาต้นจั่น..การประชุมวิชาการด้านภูมิสถาปัตยกรรม ครั้งที่ 7 ภายใต้หัวข้อ Green Transition: A movement towards sustainable and resilient environment.ชาเลนเจอร์ฮอลล์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี.
3. อัมพิกา อำลอย.(2567,5 มิถุนายน).การปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองในย่านการค้าและการท่องเที่ยว ฝั่งตะวันออกของเมืองเชียงใหม่หลังสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (พ.ศ. 2565-ปัจจุบัน): การผสานการอนุรักษ์กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน..การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ Engagement Thailand Annual Conference ครั้งที่ 9.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
4. อัมพิกา อำลอย, วรงค์ วงศ์ลังกา, แผ่นดิน อุนจะนำ, อรัญญา ศิริผล, และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี.(2567,5 มิถุนายน).การศึกษาบทบาทของภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่มีต่อการอนุรักษ์ที่ขับเคลื่อนโดยชุมชนเกษตรกรรมล้านนาในแอ่งที่ราบเมืองคอง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่..การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ Engagement Thailand Annual Conference ครั้งที่ 9.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
5. อัมพิกา อำลอย.(2566,24 เมษายน).การดำรงและการเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์พื้นถิ่นล้านนา: กรณีศึกษา ชุมชนเกษตรกรรมในแอ่งที่ราบเมืองคอง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่..งานประชุมวิชาการระดับชาติสาขาภูมิสถาปัตยกรรม ครั้งที่ 6.ชาเลนเจอร์ฮอลล์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี.
6. อัมพิกา อำลอย.(2566,29 มีนาคม).แนวทางการอ่านและแปลความหมายภูมิทัศน์วัฒนธรรมของชุมชนเกษตรล้านนา..งานสัมมนาวิชาการ หัวข้อ ความหลากหลายของภูมิทัศน์วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในบริบทที่เปลี่ยนแปลง.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วารสารวิชาการ / research / academic papers
1. อัมพิกา อำลอย.(2568).การวิเคราะห์บทบาทความสำคัญขององค์ประกอบทางภูมิทัศน์วัฒนธรรม ที่สนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตลุ่มน้ำยม ตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย.วารสารปาริชาต,38(1),125-142.https://doi.org/10.55164/pactj.v38i1.275530
2. Amloy, A., Wonglangka, W., Ounchanum, P., Ruangwitthayanusorn, S., Siriphon, A., & Oranratmanee, R.(2024).Agroecology, tourism, and community adaptability under UNESCO biosphere reserve: A case study of smallholders in northern Thailand.Sustainable Development,32(5),4428-4439.doi.org/10.1002/sd.2919
3. Amloy, A.(2024).Exploring the Vernacular Architecture in the Eastern Commercial and Tourism Districts of Mueang Chiang Mai.Asian Review,37(1),29-52.https://so01.tci-thaijo.org/index.php/arv/article/view/268475
4. อัมพิกา อำลอย.(2567).การศึกษาคุณค่างานหัตถกรรมท้องถิ่นของชุมชนต้นแบบเพื่อนำไปสู่การบริหารจัดการ ภูมิปัญญาสร้างสรรค์ของเครือข่ายย่าน ตามแนวแกนเมืองมรดกโลกสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกำแพงเพชร.วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร,15(91),106.
5. อัมพิกา อำลอย.(2567).การศึกษาองค์ประกอบของพื้นที่ต่อเนื่องย่านวัดเกต-ฟ้าฮ่าม-สันป่าข่อย จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อกำหนดอัตลักษณ์ภูมิทัศน์วัฒนธรรม.Asian Creative Architecture, Art and Design: ACAAD,37(1),1-15.doi.org/10.55003/acaad.2024.269697
6. อัมพิกา อำลอย.(2567).การสำรวจภูมิทัศน์วัฒนธรรมและมรดกทางประวัติศาสตร์ของชุมชนที่ตั้งถิ่นฐาน ในลุ่มน้ำยม ตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย.วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์,19(3),87-102.https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/272360
7. อัมพิกา อำลอย ศุภกุล เรืองวิทยานุสรณ์ วรงค์ วงศ์ลังกา แผ่นดิน อุนจะนำ อรัญญา ศิริผล และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี.(2567).การอ่านและแปลความหมายภูมิทัศน์วัฒนธรรมของชุมชนเกษตรกรรมล้านนาในแอ่งที่ราบเมืองคอง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่.วารสารวิชาการการออกแบบสภาพแวดล้อม,11(2),18-39.https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/263592
8. อัมพิกา อำลอย.(2567).ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิทัศน์ชุมชนบ้านนาต้นจั่น ตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย.วารสารวิชาการภูมิสถาปัตยกรรมและการวางผัง,6(1),1-20.https://so01.tci-thaijo.org/index.php/LAJ/article/view/275641
9. อัมพิกา อำลอย.(2567).แนวทางการออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นประยุกต์.วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,6(1),116-127.
10. อัมพิกา อําลอย, ศุภกุล เรืองวิทยานุสรณ์, วรงค์ วงศ์ลังกา, แผ่นดิน อุนจะนํา, อรัญญา ศิริผล, และ ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี.(2566).การดำรงและการเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์พื้นถิ่นล้านนา: กรณีศึกษา ชุมชนเกษตรกรรมในแอ่งที่ราบเมืองคอง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่.วารสารวิชาการภูมิสถาปัตยกรรม,5(1),1-24.
11. อัมพิกา อำลอย.(2565).การศึกษาศักยภาพในการบริหารจัดการภูมิปัญญาด้านหัตถกรรมท้องถิ่นของชุมชนเป้าหมายตามแนวแกนเมืองมรดกโลก กำแพงเพชร สุโขทัย ศรีสัชนาลัย.วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์,18(1),91-106.
12. อัมพิกา อำลอย.(2566).ภูมิทัศน์พื้นถิ่นชุมชนเกษตรกรรมในแอ่งที่ราบเมืองคอง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่.วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.,36(1),79-94.
13. อัมพิกา อำลอย.(2565).การปรับพื้นที่อยู่อาศัยของคนจนเมืองในแฟลตกรมภูธเรศน์.วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เชียงใหม่,9(1),26-45.
14. อัมพิกา อําลอย, ศุภกุล เรืองวิทยานุสรณ์, วรงค์ วงศ์ลังกา, แผ่นดิน อุนจะนํา, อรัญญา ศิริผล และ ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี.(2565).การศึกษาภูมิทัศน์พื้นถิ่นล้านนาในบริบทชุมชนของ นักวิชาการไทยในประเทศไทย ช่วง พ.ศ. 2545 - 2564.วารสารวิชาการภูมิสถาปัตยกรรมและการวางผัง,4(1),62-81.
15. อัมพิกา อำลอย.(2564).การบริหารจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนในประเทศไทย.วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,8(1),170-191.
16. อัมพิกา อำลอย.(2564).รูปแบบเรือนช่วงตั้งถิ่นฐานถาวรของชาวอูรักลาโว้ยในชุมชนบ้านโต๊ะบาหลิวจังหวัดกระบี่.วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.,33(2),15-28.
ผลงานวิจัย / research works
1. อัมพิกา อำลอย.(2564).กลไกการสนับสนุนของชุมชน เพื่อนําไปสู่การบริหารจัดการภูมิปัญญาสร้างสรรค์ของเครือข่ายย่าน ตามแนวแกนเมืองมรดกโลก กําแพงเพชร สุโขทัย ศรีสัชนาลัย.ทุนวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.) (ปีงบประมาณ 2564). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.