ARCH CMU
ประวัติการศึกษา / Educations
2014,
Doctor of Engineering,
Urban Planning,
Saga University
2009,
การผังเมืองมหาบัณฑิต,
การผังเมือง,
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2007,
การผังเมืองบัณฑิต,
การผังเมือง,
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผลงานทางวิชาการ / Publications
ตำรา-ทั้งเล่ม / books
2021,
กระบวนการฟื้นฟูท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น (มะะจิซุคุริ): บทบาทของมหาวิทยาลัยกับการเชื่อมโยงความร่วมมือด้านมิติการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและออกแบบสภาพแวดล้อม ชุมชนฮิเซนฮามะ จังหวัดซากะ, ใน ศิริพร วัชชวัลคุ, รวมบทความวิจัย เรื่อง ญี่ปุ่นในศตวรรษใหม่ (pp 49-74). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ISBN 978-616-488-158-7
2021,
ญี่ปุ่นอย่างที่เป็น ลำดับที่ 19 พัฒนาการผังเมืองประเทศญี่ปุ่นจากภาครัฐสู่การมีส่วนร่วมของชุมชน, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ISBN 978-616-488-176-1, http://www.japanwatch.today/en/publication/monographs-minibooks?page=2
2019,
การออกแบบเมืองและพื้นที่การเรียนรู้ตลอดชีวิต., ใน ชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ, มรดกเมือง มรดกชุมชน หนังสือรวมบทความวิชาการสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อม (หน้า 63-72). เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ISBN 9786163984258
2017,
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 801371 เคหการ
บทความวิชาการ / research / academic conferences
2023,
A GIS network analysis in Planning Location for Lampang Smart Mobility Hubs, APPEEC 2023 Conference, Elements of a Smart City: Engineering and Urban Planning Perspectives, Chiang Mai Marriott Hotel, Chiang Mai, Thailand.
2021,
Social Interaction of Communities’ Tourism Networks for Local Development and Organization, CITIES International Conference 2021, Post Pandemic Cities: A Paradigm Shift?, October 20th-21st, 2021 at Online Zoom Platform, Surabaya, Indonesia. Paper ID: 39.
2019,
การบูรณาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ พื้นที่โดยรอบตามแนวแกนเมืองมรดกโลก ศรีสัชนาลัย–สุโขทัย–กำแพงเพชร, วัชพงษ์ ชุมดวง และอัมพิกา ชุมมัธยา (2562). การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติและการสัมมนาระดับบัณฑิตศึกษา หัวข้อ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” ระหว่างวันที่ 6 – 7 มิถุนายน 2562 ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 31-43.
2018,
Exploring Land use Impact on Its Surrounding Area of University and Towns: A Case Study of Chiang Mai University, Thailand, International Symposium on Lowland Technology (ISLT2018), September 26th- September 28th, 2018 at Hanoi, Vietnam. abstract page 264. ISBN: 978.604.82.2483.7.
2017,
การศึกษาความพร้อมและข้อจำกัดการอนุรักษ์พลังงานด้านอาคารที่อยู่อาศัย และอาคารธุรกิจในประเทศไทย., งานประชุมวิชาการ ระดับชาติ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2561, 46-47.
2017,
การเรียนรู้ตามระบบสหกิจศึกษา การสร้างทักษะวิชาชีพกับการพัฒนาการศึกษาในศตวรรษที่ 21
2015,
Identifying Risk of Urban Culture Space through Space Syntax Analysis: A case study of Wualai Silversmith District, Chiang Mai, Thailand, International Conference on East Asian Architectural Culture EAAC2015, November 10-14, 2015, Korea Association of Architectural History, South Korea
2014,
THE SELF-ORGANIZATION SYSTEM OF LOW-INCOME INDIVIDUAL INTEGRATION INTO LOWLAND CONDITIONS, the 9th international symposium on lowland technology, Sep 29 - Oct 1, 2014, saga University, Saga, Japan (Best Paper)
วารสารวิชาการ / research / academic papers
2023,
การบูรณาการกิจกรรมทางวัฒนธรรมบนภูมิทัศน์เมืองเชิงประวัติศาสตร์ชุมชน กรณีศึกษาชุมชนช้างม่อยวัดชมพู เชียงใหม่, จิรันธนิน กิติกา, อัมพิกา ชุมมัธยา และคณะ. (2566). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 10(1), 2-25.
2023,
ประชาสังคม: ทรัพยากรการเรียนรู้ชุมชนเพื่อการสร้างกลไก เมืองแห่งการเรียนรู้, อจิรภาส์ ประดิษฐ์, อัมพิกา ชุมมัธยา และคณะ. (2566). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 10(1), 26-47.
2022,
กระบวนการปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ท้องถิ่นของเยาวชนเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างมีส่วนร่วม, อัมพิกา ชุมมัธยา และคณะ (2565). วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 35(2), 90-108.
2022,
สำรวจการก่อรูปทางความคิดและกลไกการขับเคลื่อนเชียงใหม่เมืองแห่งการเรียนรู้ด้วยชุมชน, สันต์ สุวัจฉราภินันท์, อัมพิกา ชุมมัธยา และคณะ (2565). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9(2), 92-113.
2021,
กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับ รถจักรยานยนต์เช่าในจังหวัดเชียงใหม่, ภาวิณี เอี่ยมตระกูล, อัมพิกา ชุมมัธยา และคณะ (2564). วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนรินทรวิโรฒ, 24(1), 116-131.
2019,
การถอดบทเรียนจาก กิจกรรมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมสู่กระบวนทัศน์ใหม่ในการปรับปรุงฟื้นฟูเมือง เชียงใหม่, อัมพิกา ชุมมัธยา และชาญณรงค์ ศรีสุวรรณ (2562). วารสารวิชาการบริหารท้องถิ่น Local Administration Journal , 12(2), 216-223. (TCI1)
2018,
การขยายตัวของเมืองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทของย่านเมืองเก่าในจังหวัดเชียงใหม่, อัมพิกา ชุมมัธยา และณวิทย์ อ่องแสวงชัย (2561). วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 5(1), 61-81.
ผลงานสร้างสรรค์ / other academic works
2021,
โครงการออกแบบและวางผังย่านนวัตกรรมการแพทย์สวนดอก., อัมพิกา ชุมมัธยา และรัฐพงษ์ อังกสิทธิ์ (2564). สถาปัตย์นิทรรศน์ นิทรรศการเผยแพร่ผลงานออกแบบและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5. สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (CDAST). 14-19 ธันวาคม 2564 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย.
ผลงานวิจัย / research works
2022,
การศึกษาท้องถิ่น: หลากมิติการเรียนรู้เมืองเชียงใหม่, ภายใต้ชุดโครงการวิจัย โครงข่ายท้องถิ่นกับการเรียนรู้เมืองเชียงใหม่. สนับสนุนโดยหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) (ปีงบประมาณ 2563).
2022,
โครงการส่งเสริมและพัฒนาขยายผลทางธุรกิจนวัตกรรมอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่, ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี, กวิน ว่องวิกย์การ, บุรินทร์ ธราวิจิตรกุล, ปฐวี อารยภานนท์, อัมพิกา ชุมมัธยา, อาภาภรณ์ วงศ์ลักษณพันธ์, กานต์ คำแก้ว และ ยุทธนา ทองท้วม (2565). สนับสนุนโดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) (ปีงบประมาณ 2564). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
2021,
การบริหารจัดการและฟื้นฟูคุณภาพสิ่่งแวดล้อม กิจกรรมฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่แล้ว จังหวัดสระแก้ว, ทุนสนับสนุน กองบริหารงานสิ่งแวดล้อม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2021,
การศึกษารูปแบบการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีขนส่งมวลชนกับคุณภาพเมือง สำหรับโครงการรถไฟฟ้ารางเบา จังหวัดเชียงใหม่, ทุนวิจัยมหาบัณฑิต วช. ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปี 2564. รายงานฉบับสมบูรณ์
2021,
การศึกษาแนวทางพัฒนาปฏิสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายระดับชุมชนท่องเที่ยวและกลไกการสนับสนุน ตามแนวแกนเมืองมรดกโลก ศรีสัชนาลัย-สุโขทัย-กำแพงเพชร, ภายใต้แผนงานวิจัย แผนบูรณาการการพัฒนาต้นแบบเครือข่ายชุมชนท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ตามแนวแกนเมืองมรดกโลก ศรีสัชนาลัย-สุโขทัย-กำแพงเพชร ทุนสำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.) (ปีงบประมาณ 2562).
2020,
กระบวนการฟื้นฟูท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น (มาจิซุกุริ) : บทบาทของมหาวิทยาลัยกับการเชื่อมโยงความร่วมมือด้านมิติการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมและออกแบบสภาพแวดล้อมชุมชน, ทุนวิจัย สกสว. (ปีงบประมาณ2562). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
2020,
โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อศึกษาความจำเป็นเร่งด่วนในการพัฒนาเมือง การฟื้นฟูเมืองด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเมือง., ทุนสนับสนุนทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2562 (งบบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม) การเคหะแห่งชาติ. รายงานฉบับสมบูรณ์.
2019,
โครงการการปรับปรุงฟื้นฟูชุมชนริมคลองแม่ข่า โดยชุมชนเป็นฐาน., งบประมาณแผ่นดิน (ปีงบประมาณ2561). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2019,
แนวทางการพัฒนาย่านน่าอยู่อย่างยั่งยืนในเขตเทศบาลเมืองลำพูน., ทุนวิจัย สกสว. (ปีงบประมาณ2561). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2019,
แผนงานโครงการการบูรณาการท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์อย่างยั่งยืน พื้นที่โดยรอบตามแนวแกนเมืองมรดกโลก ศรีสัชนาลัย-สุโขทัยกำแพงเพชร., ทุนวิจัย สกสว. (ปีงบประมาณ2561). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2019,
โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมศูนย์ราชการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวคิดสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง, กรุงเทพฯ: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. งานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2018,
โครงการการศึกษาช่องว่างเชิงนโยบายในการขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงานในกรุงเทพมหานคร., ทุนเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (ปีงบประมาณ2560), รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2017,
โครงการความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ของการขยายตัวของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ต่อรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินชุมชนโดยรอบ, ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ปีงบประมาณ2559). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.