ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรงค์ วงศ์ลังกา

Email : warong.w@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University

ประวัติการศึกษา / Educations

  • 2009, วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, เกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  • 2005, วิทยาศาสตรบัณฑิต, เกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผลงานทางวิชาการ / Publications


    ตำรา-ทั้งเล่ม / books

    1. วรงค์ วงศ์ลังกา.(2559).ไม้หมายถิ่น มิติของต้นไม้กับการหมายถิ่นฐาน..คุ้มกลางเวียง "ไม้หมายถิ่น"(น.).ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.


    บทความวิชาการ / research / academic conferences

    1. Aumpika Amloy, Wonglangka, W., Ounchanum, P., Ruangwitthayanusorn, S., Siriphon, A., & Oranratmanee, R.(2024,23 May).Cultural Landscape Preservation and Sustainable Environmental Development in the Agricultural Communities of Nagaland, India..The 2nd International Conference on Business, Economics, and Hospitality 2024 (ICBEH 2024).PREM Auditorium, Thaksin University, Songkhla, Thailand.

    2. Jintapitak, M., Suwatcharapinun, S., Shummadtayar, U., Kitika, C., Virutamawongse, P. & Wonglangka, W.(2024,February 1).Nourishing the Spirit of Lanna: Stream Management and Cultural Heritage Revival through Cultural Capital, Knowledge, and Social Theory Integration..2024 Joint International Conference on Digital Arts, Media and Technology with ECTI Northern Section Conference on Electrical, Electronics, Computer and Telecommunications Engineering (ECTI DAMT & NCON).Chiang Rai, Thailand.

    3. อัมพิกา อำลอย, วรงค์ วงศ์ลังกา, แผ่นดิน อุนจะนำ, อรัญญา ศิริผล, และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี..(2567,5 มิถุนายน).การศึกษาบทบาทของภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่มีต่อการอนุรักษ์ที่ขับเคลื่อนโดยชุมชนเกษตรกรรมล้านนาในแอ่งที่ราบเมืองคอง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่..การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ Engagement Thailand Annual Conference ครั้งที่ 9.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

    4. Wonglangka, W & Han, F.(2020,September 24 - October 4).DOI SUTHEP MOUNTAIN, THE LIVING HERITAGE..JWHS2020, JOURNAL OF WORLD HERITAGE STUDIES (SPECIAL ISSUE 2020) MIXED CULTURAL AND NATURAL HERITAGE ISSN 2189-4728.Tsukuba, Japan.

    5. วรงค์ วงศ์ลังกา.(2018,).Revealing nature/culture linkages at Chiang Mai Old City through literary works..Proceeding Society 5.0 Academic Conference Research with multidisciplinary paradigm.Bandung, Indonesia.

    6. รัฐพงษ์ อังกสิทธิ์ และ วรงค์ วงศ์ลังกา.(2557,29 เมษายน).ผลงาน “เรียนสถาปัตย์ทำไม ?”..งานสถาปนิก 57 “สิบแปด l แปดสิบ”.ชาเลนเจอร์ฮอลล์ 1 – 3 ศูนย์แสดงสินค้าอิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพมหานคร.


    วารสารวิชาการ / research / academic papers

    1. Amloy, A., Wonglangka, W., Ounchanum, P. Ruangwitthayanusorn, S., Siriphon, A. & Oranratmanee, R.(2024).Agroecology, tourism, and community adaptability under UNESCO biosphere reserve: A case study of smallholders in northern Thailand.Sustainable Development,32(5),1-12.doi.org/10.1002/sd.2919

    2. Virutamawongse, P., Suwatcharapinant, S., Shummadtayar, U., Kitika, C., & Wonglangka, W.(2024).Resilient Heritage: The Adaptation of Nantaram Tai Khun Lacquerware Amidst Lifestyle and Urban Shifts in Chiang Mai Province.วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,11(2),87-103.https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/268393

    3. Tantinipankul, T., & Wonglangka, W.(2024).Sacred Mountains in Thailand and Japan: A Comparative Study of Mt. Doi Suthep and Mt. Yoshino-Omine.Thammasat Review,27(1),311-332.DOI: 10.14456/tureview.2024.13

    4. อัมพิกา อำลอย, ศุภกุล เรืองวิทยานุสรณ์, วรงค์ วงศ์ลังกา, แผ่นดิน อุนจะนํา, อรัญญา ศิริผล และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี.(2566).การดำรงและการเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์พื้นถิ่นล้านนา: กรณีศึกษา ชุมชนเกษตรกรรมในแอ่งที่ราบเมืองคอง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่.วารสารวิชาการภูมิสถาปัตยกรรม,5(1),1-24.

    5. วรงค์ วงศ์ลังกา.(2566).การศึกษาพืชพรรณที่ปรากฏในภูมินามของหมู่บ้าน, จังหวัดเชียงใหม่.วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เชียงใหม่,10(2),99-113.

    6. อัมพิกา อำลอย, ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี, แผ่นดิน อุนจะนำ และวรงค์ วงศ์ลังกา.(2565).การศึกษาภูมิทัศน์พื้นถิ่นล้านนาในบริบทชุมชนของ นักวิชาการไทยในประเทศไทย ช่วง พ.ศ. 2545 - 2564.วารสารวิชาการภูมิสถาปัตยกรรม,4(1),62-81.

    7. วรงค์ วงศ์ลังกา.(2557).ไม้หมายเมือง คติความเชื่อเรื่องต้นไม้ที่เกี่ยวกับเมืองเชียงใหม่ : CHIANG MAI LAND MARKED TREE: Traditions and beliefs about tree and land marking.ใน รวมบทความวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้โครงการจัดทำผลงานวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้และภูมิปัญญาพื้นถิ่นสู่อาเซียน,1(-),68-89.


    ผลงานวิจัย / research works

    1. วรงค์ วงศ์ลังกา.(2556).ภูมิปัญญาการใช้ไม้กับสถาปัตยกรรม กรณีศึกษา “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น เมืองหลวงพระบาง".ทุนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.