ทวีศักดิ์ เกียรติวีระศักดิ์

Email: taweesak.k@cmu.ac.th

Faculty of Architecture, Chiang Mai University

ประวัติการศึกษา

  • 2005

    ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

    ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร

  • 1988

    สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง)

    สถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ผลงานตีพิมพ์

  • • ทักษาเมืองเชียงใหม่ 1 จุลสาร หำยนต์ 2 เชียงใหม่ 2006 (บทความวิชาการภายในหน่วยงาน)
  • • สัญวิทยา: การถอดรหัสและการประยุกต์อัตลักษณ์ไทยเพื่อเป็นแนวทางการออกแบบ. การประชุมวิชาการ ประจำปี 2555 (Built Environment Research Associates’ Conference: BERAC 3. 2012) คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต กรุงเทพฯ หน้า -.
  • • การถอดรหัสและการประยุกต์ใช้อัตลักษณ์เพื่อเป็นแนวทางการออกแบบ. เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2012. 109หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)
  • • ความสับสนเชิงทฤษฎีในการใช้สัญวิทยาเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ . การประชุมวิชาการ ประจำปี 2556 Built Environment Research Associates Conference 4, 2013 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี หน้า596 -606. 2013.
  • • แนวความคิดการออกแบบอาคารเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1 จดหมายข่าวคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 2 1 จังหวัดเชียงใหม่ 2012 (บทความวิชาการภายในหน่วยงาน)
  • • ประวัติศาสตร์และพัฒนาการของเมืองเชียงใหม่กับการวางผัง 1 รวมบทความวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี 2556 ภายใต้โครงการจัดทำผลงานวิชาการเพื่อเผยแพร่ ความรู้และภูมิปัญญาพื้นถิ่นสู่อาเซียน “ประวัติศาสตร์ ความเชื่อ ประเพณี และความเปลี่ยนแปลง
  • • วิเคราะห์สัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมและการสื่อสารของอาคารราชการไทยเพื่อหาแนว ทางการออกแบบ. จังหวัดเชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มช.; 2013. 73หน้า (รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย)

งานวิจัย

  • วิจัยโครงการจัดทำพิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum) เรื่องที่อยู่อาศัยที่เป็นเอกลักษณ์สะท้อนถึงอัตลักษณ์ความเป็นชุมชนเมืองลับแล : ตำบลศรีพนมมาศ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์, ทุนการเคหะแห่งชาติ, 2557
  • ผู้ร่วมวิจัย
  • วิเคราะห์สัญลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมและการสื่อสารของอาคารราชการไทยเพื่อหาแนวทางการออกแบบ
  • ผู้ร่วมวิจัย
  • โครงการวิจัยเพื่อออกแบบวางผังพื้นที่ประวัติศาสตร์กลางเมืองเชียงใหม่และ สร้างเครือข่ายเพื่อเป็นศูนย์ปฏิบัติการและเผยแพร่ข้อมูลทางด้านสถาปัตยกรรม ล้านนาและศิลปวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงภูมิภาค
  • รองหัวหน้าโครงการวิจัย
  • โครงการจัดทำพิพิธภัณฑ์เสมือน (Virtual Museum) เรื่องที่อยู่อาศัยที่เป็นเอกลักษณ์สะท้อนถึงอัตลักษณ์ความเป็นชุมชนเมือง ลับแล : ตำบลศรีพนมมาศ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • การศึกษาผังเมืองโบราณ : กรณีศึกษา เมืองหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • การศึกษาผังเมืองโบราณ : กรณีศึกษาเมืองหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
  • หัวหน้าโครงการวิจัย
  • แนวความคิดการวางผังเมืองเชียงใหม่เก่า กรณีศึกษาเปรียบเทียบกับผังเมืองสุโขทัยเก่า

งานเผยแพร่

    2015

  • งานสร้างสรรค์ หอเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : กระบวนการคิดสร้างสถาปัตยกรรม, รางวัลสาขาสถาปัตยกรรมหลัก CDAST DESIGN AWARD 2014 (สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย), 2558
  • 2015

    การนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมทางวิชาการภายในประเทศ
  • บทความผลงานสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม เรื่อง หอเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : กระบวนการคิดสร้างสถาปัตยกรรม
  • 2015

  • โปสเตอร์งานสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรมเฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ 9 : สัญญะในงานสถาปัตยกรรมล้านนาร่วมสมัย โครงการประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” 2 เม.ย.2558
  • 2015

    การนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมทางวิชาการภายในประเทศ
  • โปสเตอร์งานสร้างสรรค์ ในงานการประชุมวิชาการ “ปอยปัญญา : หนึ่งทศวรรษมหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์”
  • 2013

    การนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมทางวิชาการภายในประเทศ
  • ความสับสนเชิงทฤษฏีในการใช้สัญวิทยาเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ
  • 2012

    การนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมทางวิชาการภายในประเทศ
  • ประชุมวิชาการ BEARC เรื่อง สัญวิทยา ซ การถอดรหัสและการประยุกต์อัตลักษณ์ไทยในแนวความคิดการออกแบบ
  • 2010

    การนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมทางวิชาการภายในประเทศ
  • การศึกษาผังเมืองโบราณ กรณีศึกษา เมืองหลวงพระบาง สปป.ลาว
zz